การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาตามแนว OBJECTIVES & KEY RESULTS (OKRs)

Main Article Content

ศิวาพัชญ์ บำรุงเศรษฐพงษ์
สวพร บุญญผลานันท์
เกรียงไกร สัจจะหฤทัย

บทคัดย่อ

               การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา หากนำ OKRs มาใช้ในการบริหารงานด้านวิชาการจะช่วยให้การบริหารงานนั้นสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีมากยิ่งขึ้นเพราะ OKRs เป็นการตั้งวัตถุประสงค์ตามที่ผู้อำนวยการโรงเรียนต้องการแก้ไขหรือพัฒนาคุณภาพในการจัดการเรียนการสอนของครู รวมถึงการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาของนักเรียนในแต่ละด้าน โดยหาวิธีการพัฒนา แก้ไขให้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ หากทำสำเร็จย่อมจะสามารถพัฒนาหลักสูตรและกระบวนเรียนรู้ตลอดจนการวัดผล ประเมินผล รวมทั้งการวัดปัจจัยเกื้อหนุนการพัฒนาคุณภาพนักเรียน ชุมชนและท้องถิ่นได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ โดยจะส่งผลดีโดยตรงต่อตัวผู้เรียนที่จะได้พัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้น รวมถึงพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครู และสะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการบริหารงานของผู้อำนวยการโรงเรียนอีกด้วย

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่2) พ.ศ.2545 พร้อมกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องและพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ
พ.ศ.2545. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ ร.ส.พ., 2546
กมล ภู่ประเสริฐ. การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: เมธีทิปส์, 2547
เจริญ ภักดีวานิช. งานวิชาการเป็นหัวใจสาคัญในการปฏิรูปการศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2544
ชาลินี ฉายารัตน์. ปัญหาและแนวทางการพัฒนางานวิชาการของโรงเรียนประถมศึกษา
อาเภอปลวกแดง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง เขต 1. งานนิพนธ์หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา, 2550
ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์. การบริหารงานวิชาการ. ปัตตานี ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2545
ทัศนีย์ วงศ์ยืน. การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพมหานคร ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพมหานคร, 2553.
นภดล ร่วมโพธิ์. พัฒนาองค์กรและชีวิตด้วยแนวคิด OKRs. นนทบุรี: เอ็นพี อินเทลลิเจนซ์, 2561.
นภดล ร่วมโพธิ์. OKRs กับการบริหารโรงเรียน. 2561. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2562, จากเว็ปไซต์https://storylog.co/category/knowledge ประชาชาติธุรกิจ. เข้าใจ “OKR” ดีแค่ไหน ?. 2561. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2562. จากเว็ปไซต์ https://www.prachachat.net/csrhr/news-209471
รุ่ง แก้วแดง. ปฏิวัติการศึกษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ดี, 2553.
วริศรา พุ่มดอกไม้. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริการและจัดการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างจิตสาธารณะ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแพร่ เขต 2. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2553.
สมกิต บุญยะโพธิ์. การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. สารนิพนธ์หลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547
สุทธิรา เกษมราษฎร์. การมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการของครู โรงเรียนกลุ่มบางละมุง 4 สังกัดสานักงานเขตพื้นทีการศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3. วิทยานิพนธ์หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ. กรุงเทพมหานคร สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2547
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แนวทางการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาให้คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาตามกฎกระทรวง กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจการบริหารจัดการศึกษา พ.ศ.2550. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2550
อุทัย บุญประเสริฐ.การบริหารจัดการสถานศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ตาราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.