การจัดการทรัพยากรชุมชนเชิงพาณิชย์ของกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกข้าว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง

Main Article Content

ธนกร สิริสุคันธา
นภาวรรณ เนตรประดิษฐ์
บุญฑวรรณ วิงวอน

บทคัดย่อ

               การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการรับรู้คุณค่าทรัพยากรชุมชนเชิงพาณิชย์ของกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในการจัดการทรัพยากรชุมชน เชิงพาณิชย์ และศึกษาแนวทางการจัดการทรัพยากรชุมชนเชิงพาณิชย์ที่เหมาะสม สาหรับกลุ่มเกษตรกร ผู้ปลูกข้าว อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกข้าว กลุ่มตัวอย่างจานวน 397 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ใช้สถิติเชิงพรรณนาเพื่อบรรยายคุณลักษณะของข้อมูลที่ศึกษา ประกอบด้วย จานวนความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย รวมทั้งใช้วิธีการสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม การสังเกตภาคสนามของผู้วิจัยและการสังเกตแบบมีส่วนร่วม
               ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 51-60 ปี สถานภาพสมรส ส่วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาระดับประถมศึกษา มีระดับการรับรู้คุณค่าทรัพยากรชุมชนเชิงพาณิชย์ของกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ใน 3 ด้าน ประกอบด้วย 1) ระดับการรับรู้คุณค่าทรัพยากรชุมชนทางชีวภาพ 2) ระดับการรับรู้คุณค่าทรัพยากรชุมชนทางกายภาพ และ 3) ระดับการรับรู้คุณค่าทรัพยากรชุมชนที่สร้างขึ้นเองในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผลศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในการจัดการทรัพยากรชุมชนเชิงพาณิชย์ อยู่ในระดับมาก โดยมีแนวทางการจัดการทรัพยากรชุมชนเชิงพาณิชย์ที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกข้าว คือ ควรมีการทาการเกษตรบนที่ดินอย่างสม่าเสมอทุกฤดูการผลิต ไม่ปล่อยที่ดิน ร้างไว้ เพราะการเกษตรอื่นๆ นอกเหนือจากการปลูกข้าว จะเป็นที่มาของรายได้ที่สาคัญของครอบครัวและชุมชน ควรให้ชาวบ้านจัดการตนเองเพื่อให้เกิดความเป็นเจ้าของทรัพยากรชุมชน โดยการส่งเสริม การจัดองค์กรชุมชนที่ดี อย่างมีประสิทธิภาพ และชุมชนควรมีอิสระที่จะใช้ประโยชน์ทรัพยากรชุมชน อีกทั้งควรให้ทุกคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการสร้างอุดมการณ์การจัดการทรัพยากรชุมชน โดยอาจยก ความมั่นคงด้านต่างๆ ของครอบครัว ความสุข ความสัมพันธ์ที่ดีกับคนอื่นๆ มาเป็นอุดมคติในการดูแลรักษาและจัดการทรัพยากรในชุมชน ผ่านองค์ประกอบที่สาคัญ คือ การเตรียมการและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การสื่อสาร กระบวนการและเครื่องมือ การเรียนรู้ การวัดผล และการยกย่องชมเชยและการให้รางวัล

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เกษตรอาเภอแม่ทะ. รายงานประจาปี 2558. ลาปาง: สานักงานเกษตรอาเภอแม่ทะ, 2559.
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ.์ กฎหมายอาญาภาคความผิด เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: จิรรัชการพิมพ์, 2550.
คะนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม และคณะ. แนวทางการเสริมสร้างประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมตามรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540: ปัญหา อุปสรรค และทางออก.กรุงเทพมหานคร: ธรรมดา
เพลส, 2545.
ชัยอนันต์ สมุทวณิชและกุสุมา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, 2546. สิ่งแวดล้อมกับความมัน่ คง: ความมัน่ คงของ
รัฐกับความไม่มัน่ คงของราษฎร. กรุงเทพมหานคร : สถาบันนโยบายศึกษา, 2546.
ธนกร น้อยทองเล็ก. การพัฒนาวิทยุชุมชนโดยการมีส่วนร่วมในจังหวัดลา ปาง. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาบริหารศาสตร์. มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 2553.
ธัญวรัตน์ แจ่มใส. แนวทางการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการป่ าชุมชน ตา บล
หนองครก อา เภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ. มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีษะเกษ, 2559.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. เก็บที่โล่งแก่รากหญ้า. เชียงใหม่: ชุมชนคนรักป่า มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย, 2543.
นิวัติ เรืองพานิช. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร: สหมิตรออฟเซท, 2536. บวรศักดิ์ อุวรรณโณและถวิลวดี บุรีกุล. ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า, 2548.
ประยุทธ์ ไกรปราบ. แบบจาลองสนับสนุนการตัดสินใจโดยชุมชนมีส่วนร่วมสาหรับการจัดการ
ทรัพยากรน้าอย่างยั่งยืนในลุ่มน้าอาจสามารถ. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการใช้ที่ดิน
และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2555. พิกุล พงษ์กลาง. การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารต้นทุน การผลิตของการปลูกข้าว กลุ่มวิสาหกิจชุมชนศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว ตาบลออนใต้ อาเภอ สันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยพายัพ.
ยศ สันตสมบัติ. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ: ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการจัดการทรัพยากร.
กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ลักษณ์, 2547. รุจินดา ภู่ระย้า. การศึกษาความต้องการใช้น้าชลประทานเพื่อการเพาะปลูกข้าว : กรณีศึกษา โครงการส่งน้าและบารุงรักษารังสิตใต้. ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์. มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ, 2550.
วรนันท์ กิตติอัมพานนท์. เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2530.
สามารถ จันทร์สูรย์. ภูมิปัญญากับการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ: มูลนิธิภูมิปัญญา, 2536. สุขศรี กัลชาญพันธุ์. หน้าที่ทางสังคมของพิธีกรรมเกี่ยวกับการปลูกข้าว และการเปลี่ยนแปลงทาง วัฒนธรรม: ศึกษาเฉพาะกรณี บ้านดงทอง ตาบลดงทอง อาเภอเมือง จังหวัดยโสธร.
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. คู่มือเทคนิคและวิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่ตามแนว
ทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.opdc.go.th,
28 พฤษภาคม 2560. ศรีไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล และเจษฎาพร ยุทธนวิบูลย์ชัย. ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีการจัดการ ความรู้. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2549.
Krejcie, Robert V. and Daryle W. Morgan. Determining Sampling Size for Research Activities.
Journal of Education and Psychological Measurement, 1970.