การจัดการแหล่งท่องเที่ยวตามเส้นทางโบราณสถานล้านนา ที่ปรากฏในวรรณกรรมชินกาลมาลีปกรณ์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อสารวจแหล่งท่องเที่ยวโบราณสถานล้านนาที่ปรากฏในวรรณกรรมชินกาลมาลีปกรณ์ 2. เพื่อศึกษาคุณค่าและศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวโบราณสถานล้านนาที่ปรากฏในวรรณกรรมชินกาลมาลีปกรณ์ และ 3. เพื่อเสนอรูปแบบและวิธีการของการจัดการเส้นทางการท่องเที่ยวโบราณสถานล้านนาที่ปรากฏในวรรณกรรมชินกาลมาลีปกรณ์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้ศึกษาทั้งเชิงเอกสาร และมีการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสาคัญ จานวน 14 รูป / คน
ผลการวิจัย พบว่า 1. สารวจแหล่งท่องเที่ยวโบราณสถานล้านนาที่ปรากฏในวรรณกรรมชินกาลมาลีปกรณ์ จานวน 14 วัด แบ่งเป็นพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ 10 วัด จังหวัดเชียงราย 10 วัด ในปัจจุบันเป็นวัดที่มีพระภิกษุ สามเณร จาพรรษาอยู่ 12 วัด และเป็นวัดร้างอยู่ 2 วัด คือ วัดอาทิต้นแก้ว และวัดป่าแดงหลวง อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
2. คุณค่าและศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวโบราณสถานล้านนาที่ปรากฏในวรรณกรรมชินกาลมาลีปกรณ์ พบว่า คุณค่าแหล่งท่องเที่ยวสามารถแบ่งเป็น 4 ด้าน คือ 1) คุณค่าทางประวัติศาสตร์ 2) คุณค่าทางโบราณสถาน 3) คุณค่าทางความศักดิ์สิทธิ์ และ 4) คุณค่าทางวัฒนธรรมประเพณี ส่วนศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว แบ่งเป็น 3 ด้าน คือ 1) ด้านการดึงดูดใจการท่องเที่ยว 2) ด้านการรองรับนักท่องเที่ยว และ 3) ด้านการบริหารจัดการ
3. เสนอรูปแบบและวิธีการของการจัดการเส้นทางการเรียนรู้แหล่งท่องเที่ยวโบราณสถานล้านนาที่ปรากฏในวรรณกรรมชินกาลมาลีปกรณ์ 4 รูปแบบ คือ 1) การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และพุทธศิลปกรรม ประกอบด้วยทุกวัด 2) การท่องเที่ยวเชิงการปฏิบัติธรรม 1 วัด คือ วัดร่าเปิง (ตโปทาราม) 3) การท่อเที่ยวเชิงความศักดิ์สิทธิ์ 5 วัด คือ วัดสวนดอก วัดเชียงยืน วัดชัยศรีภูมิ์ วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร และวัดนันทาราม และ4) การท่องเที่ยวเชิงประเพณีวัฒนธรรมและงานประจาปี จานวน 9 วัด คือ 1) วัดสวนดอก พระอารามหลวง 2) วัดศรีมุงเมือง 3) วัดป่าแดงมหาวิหาร 4) วัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง 5) วัดนันทาราม 6) วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร พระอารามหลวง 7) วัดเชียงยืน 8) วัดพระแก้ว พระอารามหลวง 9) วัดพระสิงห์ พระอารามหลวง
Article Details
References
คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ. แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ 2555 - 2559. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, 2550.
วัดร่าเปิง ตโปทาราม. คู่มือการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานในแนวสติปัฏฐาน 4. เชียงใหม่: หจก.โรงพิมพ์ช้างเผือก, 2559.
พระครูสุธีสุตสุนทร ดร., และคณะ. การวิเคราะห์เนื้อหาเกี่ยวกับสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏในคัมภีร์ชินกาลมาลีปกรณ์. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2556.
ศูนย์สนเทศภาคเหนือ. ตานานอินทขิลและประเพณีบูชาอินทขิล. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http:// library.cmu.ac.th/ntic/knowledge_show.php?docid=12. 12 พฤษภาคม 2560.
Google Maps [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.google.co.th/maps/ @18.78202.98.9159883.12z. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2560.
MY HERITAGE. พระสัพพัญญูเจ้าเดชเมือง เมื่อศาสนาผสานการเมืองอย่างละมุนละม่อม. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.chiangmaiworldheritage.net/detail_show.php?id=130 &lang=th. 12 กันยายน 2560.
สัมภาษณ์ พระภาวนาธรรมาภิรัช วิ. เจ้าอาวาสวัดร่าเปิง. 2 พฤษภาคม 2560.
สัมภาษณ์ พระมหาธณัชพงศ์ สุพฺรหฺมปญฺโญ. เลขานุการเจ้าอาวาสวัดสวนดอก พระอารามหลวง. 2 พฤษภาคม 2560.
สัมภาษณ์ พระครูปลัดอรรถสิทธิ์ ชินวโส. เจ้าอาวาสวัดศรีมุงเมือง. 3 พฤษภาคม 2560.
สัมภาษณ์ พระครูโฆสิตปริยัตยาภรณ์. เจ้าอาวาสวัดป่าแดงมหาวิหาร. 2 พฤษภาคม 2560.
สัมภาษณ์ พระครูสมุห์วัลลพฺตส วโร. ผู้ช่วยเลขานุการเจ้าอาวาสวัดเจ็ดยอด พระอารามหลวง. 8 พฤษภาคม 2560.
สัมภาษณ์ พระมหาเจริญ กตปญฺโญ. อาจารย์ประจามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา. 3 พฤษภาคม 2560.
สัมภาษณ์ พระครูสิริญาณวัชร์. เจ้าอาวาสวัดเชียงยืน. 3 พฤษภาคม 2560.
สัมภาษณ์ พระครูสุธีสุตสุนทร. ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระแก้ว พระอารามหลวง. 13 มิถุนายน 2560.