ฆราวาสธรรม 4: สูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามวิถีพุทธ
Main Article Content
บทคัดย่อ
แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามหลักฆราวาสธรรมในพระพุทธศาสนา ด้านหลักการครองเรือน ควรปฏิบัติตามแนวความซื่อสัตย์ การไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนมากกว่าส่วนรวม และเข้าใจถึงความสาคัญของตนที่มีอิทธิพล หรือบทบาทและความสัมพันธ์ต่อผู้อื่น ด้านหลักการอยู่ร่วมกันในชุมชน ควรปฏิบัติตามแนวความอดกลั้น การฝึกแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี และรู้จักขอบเขตและการแสดงออกของอารมณ์อย่างพอเหมาะ ด้านหลักการทางานให้สาเร็จ ควรปฏิบัติตามแนวความอดทน การไม่ท้อถอยต่อปัญหาที่ประสบ และแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกในเรื่องต่างๆ พอเหมาะ ด้านหลักการสร้างคุณค่าให้แก่ตนเอง ควรปฏิบัติตามแนวความเสียสละ มีน้าใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อบุคคล เช่นนี้ จะทาให้อยู่ร่วมกันด้วยความสมานฉันท์ ลดปัญหาความขัดแย้ง และปัญหาทางสังคม เกิดสันติสุขในบุคคล ชุมชน และสังคมแบบยั่งยืน
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิชาการ
References
ทัตตชีโว ภิกขุ. ฆราวาสธรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์นิวไวเต็ก, 2529.
นิศารัตน์ ศิลปะเดช. ประชากรกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: พิศิษฐ์การพิมพ์, 2540, aslow, A. H., Motivation and Personality, (New York: Harper. 1954.
ปราชญา กล้าผจัญ. คุณภาพชีวิตของมนุษย์นักบริหารกับการออกกาลังกาย. กรุงเทพมหานคร: ข้าวฟ่าง, 2545.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). พัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยจิตวิทยาแบบยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, 2551.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). การศึกษาเพื่อสันติภาพ. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธรรม, 2537.
พระมหาสุรศักดิ์ สุรเมธี [ชะมารัมย์]. ธรรมะสาหรับผู้ครองเรือน. [ออนไลน์] แหล่งที่มา: www.blog.eduzones.com, [7 ก.พ. 2556].
พุทธทาสภิกขุ. บางแง่มุมของกามในทัศนะพุทธทาสภิกขุ. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์สุขภาพใจ, 2542.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.
สมใจ ลักษณะ. การพัฒนาประสิทธิภาพในการทางาน. กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา, 2543.
สงวน สุทธิเลิศอรุณ. พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. กรุงเทพมหานคร : ทิพย์วิสุทธิ์, 2545.
สมพล ประดับผล. “คุณภาพชีวิตหลังการปฏิรูประบบราชการของข้าราชการทหารชั้นประทวนศึกษากรณีกองพันทหารช่างที่๒รักษาพระองค์”.รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการบริหารทั่วไป. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ: มหาวิทยาลัยบูรพา, 2548.
สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล และคณะ. เปรียบเทียบแบบวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุด100ตัวชี้วัด และ 26 ตัวชี้วัด. เชียงใหม่: โรงพยาบาลสวนปรุงกรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข, 2540.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559), หน้า 18
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559), หน้า 18.อนุชาติ พวงสาลี และคณะ. การพัฒนาเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตและสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2539.
นิศารัตน์ ศิลปะเดช. ประชากรกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: พิศิษฐ์การพิมพ์, 2540, aslow, A. H., Motivation and Personality, (New York: Harper. 1954.
ปราชญา กล้าผจัญ. คุณภาพชีวิตของมนุษย์นักบริหารกับการออกกาลังกาย. กรุงเทพมหานคร: ข้าวฟ่าง, 2545.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). พัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยจิตวิทยาแบบยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, 2551.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). การศึกษาเพื่อสันติภาพ. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธรรม, 2537.
พระมหาสุรศักดิ์ สุรเมธี [ชะมารัมย์]. ธรรมะสาหรับผู้ครองเรือน. [ออนไลน์] แหล่งที่มา: www.blog.eduzones.com, [7 ก.พ. 2556].
พุทธทาสภิกขุ. บางแง่มุมของกามในทัศนะพุทธทาสภิกขุ. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์สุขภาพใจ, 2542.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.
สมใจ ลักษณะ. การพัฒนาประสิทธิภาพในการทางาน. กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา, 2543.
สงวน สุทธิเลิศอรุณ. พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. กรุงเทพมหานคร : ทิพย์วิสุทธิ์, 2545.
สมพล ประดับผล. “คุณภาพชีวิตหลังการปฏิรูประบบราชการของข้าราชการทหารชั้นประทวนศึกษากรณีกองพันทหารช่างที่๒รักษาพระองค์”.รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการบริหารทั่วไป. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ: มหาวิทยาลัยบูรพา, 2548.
สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล และคณะ. เปรียบเทียบแบบวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุด100ตัวชี้วัด และ 26 ตัวชี้วัด. เชียงใหม่: โรงพยาบาลสวนปรุงกรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข, 2540.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559), หน้า 18
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559), หน้า 18.อนุชาติ พวงสาลี และคณะ. การพัฒนาเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตและสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2539.