พระพุทธศาสนากับการเมืองในสังคมไทย

Main Article Content

พระครูปลัดอุทัย รตนปญโญ และคณะ

บทคัดย่อ

            บทความเรื่องพระพุทธศาสนากับการเมืองในสังคมไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจให้หลักธรรมและระดับการปฏิบัติตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาของการเมืองพร้อมทั้งแนวทางในการพัฒนานักการเมืองให้มีคุณภาพโดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ ความเข้าใจในหลักธรรมตามแนวทางพระพุทธศาสนา การปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาของการเมือง ดังนี้
           1. การเมืองที่ดีและมีคุณภาพควรปฏิบัติตนหรือมีพฤติกรรมการวางตนตามแนวทางของพระพุทธศาสนา 8 ประการ คือ
              1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต ทั้งวาจาใจ และการกระทา
              1.2 มีความเที่ยงธรรมหรือเป็นกลางในการปฏิบัติหน้าที่
              1.3 มีสัจจะ รักษาคาพูด พูดจริง ทาจริง และมีความจริงใจ
              1.4 มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และหน้าที่การงานเพื่อส่วนรวม
              1.5 เสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อส่วนรวม
              1.6 เคารพปฏิบัติตามมติส่วนรวม
              1.7 เคารพที่ประชุมและรักษาความลับของที่ประชุมตามที่ระเบียบกาหนด
              1.8 หลีกเลี่ยงอบายมุขและหมั่นประพฤติตนในทางเจริญ
          การศึกษาหลักธรรมตามแนวทางพุทธศาสนาให้ มีความเข้าใจในหลักธรรมตามแนวทางพระพุทธศาสนา ศึกษาระดับการปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาโดยภาพรวมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาทุกครั้ง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมการศาสนา. แนวทางการดาเนินงานชุมชนคุณธรรมและขับเคลื่อนด้วยพลัง “บวร”. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2556
กีรวุฒิ กิติยาดิศัย. สิทธิเสรีภาพของพระภิกษุสงฆ์. เอกสารประกอบการบรรยายการฝึกอบรมหลักสูตร หลักนิติธรรม 6
เกษฎา ผาทอง. ยุทธศาสตร์การพัฒนาประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม. ไทยภาคใต้ วารสารธรรมทัศน์ , ปีที่ 16 ฉบับที่ 8 (กรกฏาคา 2559), หน้า 12
ชลทิศ ธีระฐิติ. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. นนทบุรี, (กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551), หน้า 23
ทวีศักดิ์ ตั้งปฐมวงศ์. การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475: เอกสารประกอบการบรรยายการใหม่ 2555), หน้า 4
ประสิทธิ์ จันรัตนา. “การบริหารกิจการคณะสงฆ์” นิตยสารหลักทศพิธราชธรรมในจังหวัดชุมพร. ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 (มกราคม–เมษายน 2556), หน้า 3
วรรณไชย มะยงค์. “การบริหารกิจการคณะสงฆ์” วารสารหลักทศพิธราชธรรมในจังหวัดชุมพร. ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 (มีนาคม 2554), หน้า 34
วิศิษฐ ทวีเศรษฐ, สุขุม นวลสกุล และวิทยา จิตนุพงศ์. การเมืองและการปกครองไทย. (กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2554), หน้า 77
สมปอง รักษาธรรม, ความตื่นตัวทางการเมืองของเยาวชนในพื้นที่ภาคใต้กับการพัฒนาวัฒนธรรม พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกริก, 2552
สัญญา เคณาภูมิ. วิถีประชาธิปไตยของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 ( กรกฎาคม-ธันวาคม 2545), หน้า 195-196.
สัญญา เคณาภูมิ. “วิถีประชาธิปไตยของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย”. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2551), หน้า 150-151
สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. การพัฒนาวัดสู่ความเป็นมาตรฐาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, 2554
เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา. คาและความคิดในรัฐศาสตร์ร่วมสมัย เล่ม 2, กรุงเทพมหานคร: วี. พริ้นท์. 2551
Bertrand, D. J. Defining and Measuring Political, In Democracy and Human Rights in Developing, 53
Charnow, A. B. & Vallasi, G. A. “Democracy” in the Illustrated” The Coliumbia Encyclopedia, 1993
Copelend, L. & Lawrence, L. The World’s Great Speeches. (2nd ed.), New York: Dover, 1985
Copelend, L. & Lawrence, L. The World’s Great Speeches. (2nd ed.) New York: Dover, Eds.
Easton, D. The Political System. New York: Alfred A. Knoff, 1960
Jerrold, S. The new face of Buddha: Buddhism and Political power in Southeast Asia. London: Victor Gollancz LTD, 1967
Lasswell, D. H. & Kaplan, A. Power and Society. New Haven: Yale University
Wolin, S. Politics and vision: continuity and innovation in western political thought. New Jersey: Princeton