จริยธรรมของผู้นำองค์กรต่อการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน

Main Article Content

สุวิมล มธุรส
กฤษดา เชียรวัฒนสุข

บทคัดย่อ

               จริยธรรมของผู้นาองค์กรต่อการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ผู้นาองค์กรเป็นผู้ที่ใช้ ความรู้ (Knowledge) ให้เป็นการเรียนรู้(Learning) และพัฒนาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) และสร้างเป็นนวตกรรม (Innovation) ที่จับต้องได้ในรูปของเทคโนโลยี เพื่อใช้ประโยชน์ในการด้านผลิต ปรับปรุงกระบวนการ ศึกษาการลดต้นทุนรวมถึงการในการต่อยอดเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีความแตกต่างจากผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งและนวัตกรรมที่จับต้องไม่ได้ อาทิ ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14001) เป็นเครื่องมือที่นามาใช้ในองค์กร ซึ่งแสดงถึงการมีความรับผิดชอบทางสังคม และจะทาให้บุคคลภายนอก รวมถึงลูกค้ามองภาพลักษณ์ขององค์กร จึงเกิดความศรัทธาในตราสินค้า จึงทาให้องค์กรได้เปรียบทางการแข่งขัน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ชัยเสฎฐ์ พรหมศรีมม. สุดยอดผู้บริหาร (Executive Excellence). สานักพิมพ์เอ็กซ์เปอร์เนท: กรุงเทพมหานคร, 2549.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน. ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.baanjomyut.com/library/ethics/05.html [28 กันยายน 2560]
ณัฐยา สินตระการผล. กลยุทธ์(ON STRATEGY). ผู้แต่ง Michael E. Porter และคณะ, 2550.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: เอส.อาร์. พริ้นติ้ง แมส โปรดัสก์, 2546.
บทความ IT เพื่อการจัดการ. กลยุทธ์ที่สร้างความได้เปรียบในเชิงธุรกิจ (5 กลยุทธ์). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://khunjit.blogspot.com/2015/09/5.html [26 กันยายน 2560]
บริษัท ซีพีแอล คอนซัลติ้ง แอนด์ แมนเนจเมนท์ จากัด. บทความ ความได้เปรียบทางการแข่งขันคืออะไร. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.cpl-consult.com/Document/General/Document_general_1.html [25 กันยายน 2560]
ราชบัณฑิตสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพมหานคร: นามมีบุ๊คส์ พับลิเคชั่นส์, 2556
ราชบัณฑิตสถาน. พจนานุกรมแปลไทย-ไทย. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://dictionary.sanook.com [28 กันยายน 2560]
อานาจ วัดจินดา. บทบาทของผู้บริหารและนักทรัพยากรมนุษย์กับความได้เปรียบในการแข่งขัน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.prosofthcm.com/Article/Detail/15709 [28 กันยายน 2560]
พยอม วงศ์สารศรี. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์สุภา, 2545.
พรนพ พุกกะพันธุ์. ภาวะผู้นาและการจูงใจ. กรุงเทพมหานคร: จามารีโปรดักส์, 2544.
รังสรรค์ ประเสริฐศรี. ภาวะผู้นา. กรุงเทพมหานคร: ธนรัชการพิมพ์ จากัด, 2544.
ประภัสร์ จงสงวน. (2546, มกราคม-มิถุนายน). คนเด่น. วารสารนักบริหาร, 2, 4
ปรียาพันธ์ ปิยะอนันต์. (2546, มกราคม-มิถุนายน). คนเด่น. วารสารนักบริหาร, 2, 13
ชาญชัย อาจินสมาจาร. การบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ดีการพิมพ์, 2547.
สิทธิโชค วรานุสันติกูล. จิตวิทยาสังคม : ทฤษฎีและการประยุกต์. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2546.
สุนิสา เศวตโยธิน. “พฤติกรรมผู้นาของผู้บริหารโรงเรียน ตามการรับรู้ของผู้บริหารและครูในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 3”. วิทยานิพนธ์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม, 2551.
สุทธินันท์ พรหมสุวรรณ. (2546, มกราคม-มิถุนายน). การสร้างความเป็นผู้นาขององค์การเพื่อการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ. วารสารนักบริหาร, 2, 33
สมพิศ สุขปัญญา. “ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้นากับคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสิงห์บุรี”. วิทยานิพนธ์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการบริหารการศึกษา บ้ณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี, 2549.
Burns, J. M. (1978). Leadership. New York: Harper Row.
Gardner, J. W. 1987) Leadership development: Leadership papers. Washington, D.C.: independent Sector.
Kohlberg, Lawrence. (1981). Essays on moral development, Vol. I: The philosophy of Moral Development. San Francisco, CA: Harper & Row.
Rania Ahmed Azmi. (2006). Business Ethics as Competitive Advantage for Companies In the Globalization Era.
Porter, M. E. (1985). Competitive strategy: Techniques for analyzing industries and competitors.
New York: Free Press.
Sergiovanni, T.(1992). Moral Leadership. San Francisco, CA: Jossey-Bass Inc.
Trevina, L k., Hartman, L P., & Brown, M. (2000). How executive develop a reputation for
Ethical leadership. California Management Review. 42 (4), 128-142.
Halpin, Andrew W. (1966). Dimensions of leader behavior: Theory and research in Administration. New York: Macmillan.
DuBrin, J. Andrew. (1998). Leadership Research Findings, Practice, and Skills. New York: Houghton Mifflin Company
Daft, Richard L. (1999). Leadership Theory and Practice. Florida: Dryden Press.
Barnard, C.I. (1968). Organization and management. Massachusetts: Harvard University.
Griffiths, D.E. (1956). Human relations in school administration. New York: Appleton-Century-Crofts.
Finketstein, S. &Hambick, D.C.. (1996). Strategic Leadership: Top executive and Their effects on organizations. St.Paul, MN: West Publishing.