ป่าชุมชนในจังหวัดอุทัยธานี

Main Article Content

พระครู วิโชติสิกขกิจ
ปริญญา นิกรกุล

บทคัดย่อ

                บทความเรื่องนี้มีจุดมุ่งหมายให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับความเป็นมาของป่าชุมชนการต่อสู้ช่วงชิงความหมายระหว่างรัฐ ชุมชน สิทธิการรับรองทางกฎหมายป่าชุมชน การจัดการการใช้ของเจ้าของชุมชน และเจ้าหน้าที่รัฐ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในจังหวัดอุทัยธานี และบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในเนื้อหาอธิบายถึงความหมาย ยุคสมัยของการจัดการป่าไม้ไทย วัตถุประสงค์ของการส่งเสริมการจัดการป่าชุมชน พื้นที่ดาเนินโครงการป่าชุมชน กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ประโยชน์ที่ได้รับจากการดาเนินโครงการป่าชุมชน กรณีศึกษาในต่างประเทศ กลุ่มป่าชุมชนบริเวณเขตรักษาพันสัตว์ป่าห้วยขาแข้ง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ข้อมูลการจัดตั้งโครงการป่าชุมชนจังหวัดอุทัยธานี ผลการอนุมัติโครงการป่าชุมชน ปี พ.ศ. 2543 – ปัจจุบัน สานักจัดการที่ดินป่าไม้ กรมป่าไม้ และผลการอนุมัติโครงการป่าชุมชน ปี พ.ศ. 2543 – ปัจจุบัน ส่วนการสรุปใช้ข้อมูลของป่าชุมชนที่อยู่บริเวณแนวเขตป่ากันชนห้วยขาแข้ง ช่วยเสริมเติมแต่งการมองประเด็นป่าชุมชนของชุดข้อมูลระดับท้องถิ่นและพื้นที่เป็นสาคัญในบทความนี้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ชัยรัตน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง, อนาคตของป่าไม้ไทยกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน, วารสารสิ่งแวดล้อม, สืบค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2560, จากเว็ปไซต์ https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi5/longlive/long.htm
นฤมล ขุนวีช่วย, พลวัตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าพรุควนเคร็ง อาจารย์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (เมษายน–กันยายน 2558), หน้า 53-74
เพ็ญนภา สวนทอง อาจารย์ประจาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี แนวคิดและทฤษฎีในการศึกษาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม:มุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง, วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560), หน้า 95-118
วรชัย แสนสีระ, พ.ร.บ. ป่าชุมชน ก้าวแรกกฎหมายภาคประชาชน” มุมสะท้อนความคิดนิติบัญญัติ: Legal ref lection, จุลนิติ (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2552)
สมศักดิ์ สุขวงศ์, การจัดการป่าไม้เพื่อแก้ไขปัญหาป่าไม้ ใน คนกับป่าไม้: สถานการณ์ ปัญหา และอนาคต, (กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
สมหญิง สุนทรวงษ์, ป่าชุมชนกับสังคมไทย, ศูนย์วนศาสตร์ชุมชนเพื่อคนกับป่า – ประเทศไทย RECOFTC - The Center for People and Forests P.O. Box 1111, กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2557, สืบค้นเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2560, จากเว็ปไซต์ https://www.recoftc.org/country/thailand/basic-page
สานักข่าวประชาธรรม, ไปดูป่าชุมชนต่างประเทศ ย้อนดูไทย, โดยข่าวประชาสังคม 3 มิถุนายน 2548 เวลา18:05 น. หน้าแรกผู้จัดการ Online สืบค้นเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2560 จากเว็ปไซต์ http://www.manager.co.th
สานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 6 (อุดรธานี) กรมป่าไม้, คู่มือการพัฒนาความรู้ด้านการบริหารจัดการป่าชุมชน ส่วนจัดการป่าชุมชน ประจาปี พ.ศ. 2558, สืบค้นเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2560, จากเว็ปไซต์ www.forest.go.th
สานักจัดการที่ดินป่าไม้ กรมป่าไม้ ศูนย์สารสนเทศ สานักแผนงานและสารสนเทศ กรมป่าไม้ 61 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 สืบค้นเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2560 จากเว็ปไซต์ http://forestinfo.forest.go.th/55/Content.aspx?id=72
สานักจัดการที่ดินป่าไม้ กรมป่าไม้ ศูนย์สารสนเทศ สานักแผนงานและสารสนเทศ กรมป่าไม้ 61 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 สืบค้นเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2560 จากเว็ปไซต์ http://forestinfo.forest.go.th/55/Content.aspx?id=72
สานักจัดการที่ดินป่าไม้ กรมป่าไม้ ศูนย์สารสนเทศ สานักแผนงานและสารสนเทศ กรมป่าไม้ 61 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900, สืบค้นเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2560, จากกเว็ปไซต์ http://forestinfo.forest.go.th
เอนก นาคะบุตร, คนกับดิน น้า ป่า: จุดเปลี่ยนความคิด, (กรุงเทพมหานคร: สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา, 2536)