ศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสามเณรในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดพะเยา

Main Article Content

พระปลัดกันทวี ฐานุตฺตโร

บทคัดย่อ

               การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสามเณรในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาจังหวัดพะเยา 2. ศึกษาปัจจัยทีมีความสัมพันธ์กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสามเณรในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาจังหวัดพะเยา 3. ศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสามเณรที่เหมาะสมกับบริบททางสังคม และวัฒนธรรมในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาจังหวัดพะเยา
               การศึกษาครัง้ นี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยใช้วิธีการศึกษาเอกสาร รายงานและแบบสอบถามประกอบในกลุ่มผู้ให้ข้อมูลการวิจัยครั้งนี้ จานวน 300 รูป/คน ประกอบด้วย 3 กลุ่ม คือผู้บริหาร โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดพะเยา จานวน 20 รูป/คน ครูผู้สอน โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา 30 รูป/คน ผู้ปกครองของนักเรียนโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาจังหวัดพะเยา จานวน 50 รูป นักเรียนโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดพะเยา จานวน 200 รูป
                ผลการวิจัย พบว่า ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร ระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นฐาน ทัง้ 4 ด้าน ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร โดยรวม อยู่ในระดับดีมาก (  = 4.55) และด้านที่จะต้องปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาให้ดีมากยงิ่ ขึ้น คือด้านสังคม ซึ่งอยู่ในที่ต่ากว่าข้ออื่น ระดับดี (  = 4.41)
ตามความคิดเห็นของครูผู้สอน ระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นฐาน ทัง้ 4 ด้าน ตามความ คิดเห็นของครูผู้สอน โดยรวม อยู่ในระดับดี (  = 4.44) ตามความคิดเห็นของครูผู้สอน และด้านจะต้องปรับปรุงแก้ไขเพื่อพัฒนาให้ดีมากยงิ่ ขึ้น คือด้านอารมณ์และจิตใจ ซึ่งอยู่ในที่ต่ากว่าข้ออื่น ระดับดี (  = 4.35)
ตามความคิดเห็นของผู้ปกครองสามเณรนักเรียน ระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นฐาน ทัง้ 4 ด้าน ตามความคิดเห็นของผู้ปกครอง โดยรวม อยู่ในระดับดี ( = 3.86) และด้านที่จะต้องปรับปรุงแก้ไขเพื่อ พัฒนาให้ดีมากยงิ่ ขึ้น คือด้านสังคม ซึ่งอยู่ในที่ต่ากว่าข้ออื่น ระดับดี (  = 3.73)


             ตามความคิดเห็นของสามเณรนักเรียน ระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นฐาน ทัง้ 4 ด้าน ตามความคิดเห็นของสามเณรนักเรียน โดยรวม อยู่ในระดับดี (  = 4.22) และด้าน ที่จะต้องปรับปรุงแก้ไขเพื่อพัฒนาให้ดีมากยงิ่ ขึ้น คือด้านอารมณ์และจิตใจ ซึ่งอยู่ในที่ต่ากว่าข้ออื่น ระดับดี ( = 4.15)
จากการสรุปการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสามเณรนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดพะเยา ตามความคิดเห็นของ ผู้บริหาร ตามความคิดเห็นของครูผู้สอน ตามความคิดเห็นของผูป้ กครองนักเรียน และตามความคิดเห็นของนักเรียน พบว่า ระดับพื้นฐาน ด้านการที่จะต้องปรับปรุงแก้ไขเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของสามเณรนักเรียนให้ดีมากยิ่งขึ้น คือด้านสภาพแวดล้อมในโรงเรียน และด้านสภาพแวดล้อมในโรงเรียน เมื่อเราเรียนดีแล้วจา นาให้เขามีความรู้ความคิดที่ดีสามารถจะทาอะไรๆ ให้เกิดประโยชน์ความผาสุกและเป็นศาสนทายาทสืบต่อไป.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ที.สี.9/159/128.
ซีดีรอม (CD-ROM). ธรรมานุกรมประมวลจากพระนิพนธ์สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์. คาจี้แจง.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), พระไตรปิฎก สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธธรรม, 2547
นภินทร ศิริไทย. การพัฒนาองค์ความรู้การรู้เท่าทันสื่อเพื่อสุขภาพ สู่หลักสูตรในระบบและนอกกระบบการศึกษาของไทย. สานักงานกองทุนสนับสนุนเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ, 2547
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540.มาตราที่ 73
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540.มาตรา 80
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). พระพุทธศาสนาพัฒนาคนและสังคม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์กรมการศาสนา, 2542.
สุภาเพ็ญ จริยะเศรษฐ์. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย. สถาบัญราชภัฏกาญจนบุรี. 2542, หน้า 122
นิตยสารใกล้หมอ ปีที่ 23 ฉบับที่ 9 กันยายน 2542.
คาแถลงนโยบายรัฐบาลของคณะรัฐมนตรี. 23 มีนาคม 2548. หน้า 7-9.