ความคิดเห็นของนักศึกษาคฤหัสถ์ ภาคปกติ ชัน้ ปี ที่ 1 ที่มีต่อกิจกรรม รับน้อง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน อำเภอเมือง ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ปีการศึกษา 2559

Main Article Content

สิทธิพร เกษจ้อย
พระวรชัด ทะสา
พระมหาสัจจารักษ์ ไร่สงวน

บทคัดย่อ

               การวิจัยเรื่องนี้ เป็นการวิจัยเชิงสา รวจ (Survey Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของนักศึกษาภาคปกติ คฤหัสถ์ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2559 2)เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาภาคปกติ ชัน้ คฤหัสถ์ ปีที่ 1 ปีการศึกษา 2559 ที่มีต่อกิจกรรมรับน้องและ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะและการปรับปรับกิจกรรมรับน้องให้เป็นกิจกรรมที่มีความสร้างสรรค์ จากนักศึกษาชัน้ ปีที่ 1 ภาคปกติคฤหัสถ์จา นวน 128 คน จากผลการวิจัย พบว่า นักศึกษาชัน้ ปีที่ 1 ภาคปกติ คฤหัสถ์ส่วนมากร้อยละ 67.96 เป็นเพศหญิง และเป็นเพศชายร้อยละ 32.04 นักศึกษาชัน้ ปีที่ 1 ร้อยละ 60.15 มีอายุระหว่าง18-19 ปี ร้อยละ 39.10กาลังศึกษาในสาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ ร้อยละ 27.30 กาลังศึกษาในสาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
ร้อยละ 21 กาลังศึกษาในสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองและร้อยละ 11.70 กาลังศึกษาในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ ส่วนความคิดเห็นของนักศึกษาภาคปกติ คฤหัสถ์ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษาศึกษา 2559 ที่มีต่อกิจกรรมรับน้องโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( = 3.59)

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

งานกิจการนักศึกษา. คู่มือระเบียบการนักศึกษาระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2557. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน. พิมพ์ที่ หจก. ขอนแก่นการพิมพ์, 2557.
ปราโมทย์ ขลิบเงิน. “ประเพณีต้องรับน้องใหม่และระบบการปกครองนักศึกษาของแม่โจ้”.รายงานการวิจัย.บัณฑิตวิทยาลัย. มหวิทยาลัยแม่โจ้. 2556.
สุวิมล บุญจันทร์. “ความคิดเห็นของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีต่อการจัดกิจกรรมรับน้องใหม่ ปีการศึกษา 2546”. รายงานการวิจัย. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
เสกสรร มธุลาภรังสรรค์. ความสาคัญของการบริหารเวลา. 2555. http://www.novabizz.com/NovaAce/Time/Time_Management.htm. สืบค้นเมื่อ 29 มิถุนายน 2559.
ศิริภา จันทร์เกื้อ และคณะ. ความเห็นของนักศึกษาที่มีต่อกิจกรรมการประชุมเชียร์และรับน้องใหม่ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. 2555.
ศศิธร ชุตินันทกุล.การวัดผลทางการศึกษาและการเปรียบเทียบคะแนน.วารสารมหาจุฬาวิชาการปีที่ 2 ฉบับที่ 2 ประจาเดือน กรกฏาคม-ธันวาคม 2558 หน้า 109.
เอกการ์นิเย่ ดร. “ประวัติกิจกรรมรับน้อง”. 17 มิถุนายน 2557. . สืบค้นเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2559.