แนวคิดลัทธิบริโภคนิยม ในท้องถิ่น และการล่มสลายของท้องถิ่น

Main Article Content

ชลิดา แย้มศรีสุข

บทคัดย่อ

กระแสบริโภคนิยมและความทันสมัยที่รุกเร้าเข้าสู่สังคมชนบทโดยผ่านสื่อต่างๆเป็นการบริโภคในระบบทุนนิยมที่กระตุ้นให้เกิดการซื้อโดยไม่จำเป็น มีสิ่งฟุ่มเฟือย และสินค้าที่ไม่มีคุณภาพเข้าไปจำหน่ายในชนบท ทำให้เกษตรกรต้องมีรายจ่ายเพิ่มขึ้น การพึ่งตนเองลดน้อยลง เนื่องจากการบริโภคเป็นไปตามกระแสการโฆษณา ซึ่งมีฐานการผลิตอยู่ภายนอกชุมชน ทำให้ฐานการดำรงชีพของชุมชนเปลี่ยนไป เศรษฐกิจภายในชุมชนต้องพึ่งพิงระบบตลาดมากขึ้น กระแสบริโภคภายใต้ระบบทุนนิยมมาพร้อมค่านิยมใหม่ในการดำรงชีพ ซึ่งส่งผลให้รายจ่ายของเกษตรกรในด้านต่างๆมีเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับฐานการผลิตเชิงเดี่ยว หรือการผลิตที่เน้นการส่งออก ทำให้การพึ่งตนเองในด้านปัจจัยสี่ลดน้อยลงแม้ว่า วัฒนธรรมบริโภคนิยมเกิดขึ้นจากพื้นฐานของการขยายตัวในระบบการผลิตสินค้าแบบทุนนิยม ซึ่งนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงหรือแปรรูปวัฒนธรรมทางวัตถุให้กลายเป็นสินค้าของผู้บริโภคที่สามารถซื้อขายหรือบริโภคได้


 

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. 2543.“การรวมกลุ่มทางการเมืองของ ส.ส.อีสาน พ.ศ.2476-2494” (วิทยานิพนธ์
ปริญญาอักษรศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต, ภาควิชาประวัติศาสตร์, คณะอักษรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ธนภูมิ อติเวทิน .2543.วัฒนธรรมบริโภคนิยมกับอาหารเพือสุขภาพในบริบทสังคมเมือง . ปริญญานิพนธ์
รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย .
พัฒนา กิติอาษา . 2546. ท้องถินนิยม. คณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา . สำนักงาน
คณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ.
Adorno , T. 1967. Veblen’s Attack on Culture. Translated by S.Weber. London :Spearman.
AstushiKitahara, 1996. The Thai Rural Community Reconsidered: Historical Community Formation
and Contemporary Development Movement. (Bangkok: Political Economy Center, Faculty of
Economics, ChulalongkornUniversiy, 1996).
Baudrillard, J. 1975. The Mirror of Production. St Louis :Telos Press.
Baudrillard, J. 1981. For a crituqe of the Political Economy of the Sign. St Louis :Telos Press.
Bocock, R. 1993. Consumption. London :Routledge.
Charles F Keyes, Isan: Regionalism in Northeastern Thailand, Data Paper no.65(Ithaca: Cornell
Southeast Asia Program, 1967).
Ewen, S. 1976.Captains of Consciousness :Advertising and the Social Roots of the Culture.
New York :McGraw – Hill.
Falk, P. 1994. The Consuming Body. London :Sage.
Featherstone, M.1992. Consumer Culture and Postmodernism. London :Sage Publications.
Featherstone, M. ; Hepworth, M. ; and Turner, B.S. , eds. 1992. The body :Social Process and Cultural
Theory .witshire:Dotesios.
Foucault, M. 1998. Technoligies of the Self. In Martin, L.h. :Gutman H. ; and Hutton, P.W. , eds.
Technologies of the Self :A Seminar with Michel Foucault. London :Tavistock.
Grosz, E. 1990. Inscriptions and Body maps :representationsand the corporeal. In Threadgold. T. and
Cranny – Francis, A., eds.Feminine 2 Masculine and Representation. Sydney :Allen and
Unwin
Kevin Hewison, “Nongovernmental Organizations and the Cultural Development Perspective: A Comment
on Rigg(1991),” World Development vol. 21(10) :699 – 708,และJonathan Rigg, “Grass –
Roots Development in Rural Development: A Lost Cas?”World Development vol. 19(2/3):
199 - 211.
Lupton, D. 1996. Food, the Body and the Self. Witshire:Redwood Press.
Lupton, D. 1997. The Imperative of Health :Public Health and the Regulated Body. Witshire:
Cromwell .Press.
Marvin Harris, Cultural Materialism: The Struggle for a Science of Culture (New York:Random,
1979), และ Michael Rhum, “Harris, Marvin (1927-),” in The Dictionary of Anthropology, edited
by Thomas Barfield (Malden, Massachusetts: Blackwell Publisher, 1997), pp. 232-233.
McCracken, G. 1998 . Culture and Consumption :New Approach and Symbolic Character of
Consumer Goods and Activities. Bloomington ; Indiana University Press.
Rhodes, T. and Shaughnessy, R. 1989. Compulsory Screening :Advertising AIDS in Britain, 1986 – 89.
Policy and Politics 18(1) :55 – 61.
Ripe, L. 1993. Goodbye Culinary Cringe .Sydney :Allen and Unwin.
Woodward, K. ,ed. 1997. Identity and Difference .Glagow Bath Press Colourboosk.