แนวคิดอัตลักษณ์ท้องถิ่นภายใต้บริบทการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์

Main Article Content

ณัฐพงศ์ รักงาม

บทคัดย่อ

แนวคิดอัตลักษณ์ท้องถิ่น เป็นแนวคิดที่ได้รับความสนใจเพิ่มมากขึ้นในปัจจุบันอันเป็นผลจากการกระแสโลกาภิวัฒน์ (globalization) ที่มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกด้านไม่ว่าจะเป็นมิติทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมโดยเป็นผลจากความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยเฉพาะในด้านข้อมูลข่าวสารและระบบสารสนเทศ นำมาซึ่งการเชื่อมความสัมพันธ์และการเชื่อมโยงของผู้คนทั่วโลกอย่างไร้พรมแดน ในแง่หนึ่งโลกาภิวัฒน์นำมาซึ่งความร่วมมือและการพัฒนาและสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ แต่อย่างไรก็ตามผลกระทบในแง่ลบของกระบวนการโลกาภิวัฒน์ซึ่งถือเป็นพัฒนาการอีกกระบวนการหนึ่งของระบบทุนนิยมก็นำมาซึ่งการครอบงำทางด้านวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศโลกตะวันตกผ่านการไหลบ่าของทุนข้ามชาติที่ได้เข้ามาเก็บเกี่ยวผลประโยชน์จากกลุ่มประเทศที่ด้อยพัฒนาในรูปแบบที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็นแนวคิดบริโภคนิยม วัตถุนิยม หรือการทำให้วัฒนธรรม ความเชื่อหรือประเพณีกลายเป็นสินค้า (commodification) อย่างไรก็ตามภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์ก็ได้สร้างกระบวนการท้องถิ่นนิยม (localism) อันเป็นการปลุกจิตสำนึกให้ผู้คนได้หันหลังย้อนมองมายังรากฐานของตนเองซึ่งได้แก่ความเป็นชุมชนท้องถิ่น เกิดกระบวนการรื้อฟื้นอัตลักษณ์ของชุมชน บทความนี้ได้นำเสนอความเป็นอัตลักษณ์ของชุมชนท้องถิ่นไทย การต่อสู้และการปรับตัวของอัตลักษณ์ชุมชนท้องถิ่นภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเป็นรัฐชาติ และในท้ายที่สุดนำเสนอกระบวนการฟื้นฟูอัตลักษณ์ท้องถิ่นภายใต้แนวคิดท้องถิ่นนิยม (localism)

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กนกวรรณ ระลึก. กระบวนการประกอบสร้างอัตลักษณ์ชุมชนภูมิซรอล. รัฐศาสตร์สาร คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที $
26 ฉบับที $ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2558.
จิตรา สมบัติรัตนานันท์. วัฒนธรรมทางการเมืองของชุมชนในภาคตะวันออก: กรณีศึกษาเฉพาะชุมชน ต. เนินฆ้อ อ.แกลง จ. ระยอง,
วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.
ฉลาดชาย รมิตานนท์. อัตลักษณ์ วัฒนธรรม และการเปลียนแปลง. บทความวิชาการ ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2558.
เฉลิมชัย ปัญญาดี. อัตลักษณ์และการสร้างอัตลักษณ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิน.
ฐานข้อมูลโครงสร้างพืน0 ฐานภาครัฐด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2550.
ชลธิชา มาลาหอม. อัตลักษณ์ชุมชนรากฐานสู่การศึกษา. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ปีที $ 9 ฉบับที $ 1 (16)
ประจำเดือนมกราคม – มิถุนายน 2557.
ณฐพศ์ จิตรนิรัตน์. อัตลักษณ์ชุมชนภาคใต้: บทสำรวจเบือD งต้นจากเอกสาร. 2548. วารสารปาริชาติ ปีที $ 18 ฉบับที $ 1 เมษายน 2548
– กันยายน 2548.
ณัฐพงศ์ จิตรนิรัตน์. อัตลักษณ์ชุมชนภาคใต้: บทสำรวจเบือD งต้นจากเอกสาร. 2548. วารสารปาริชาติ ปีที $ 18 ฉบับที $ 1 เมษายน 2548
– กันยายน 2548.
ธนวรรธน์ นิธิปภานันท์. ประเพณีประดิษฐ์กับการเปลียนแปลงทีหัวหิน. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที $
32 ฉบับที $ 3 กันยายน – ธันวาคม 2558.
ธันวา ใจเทีย$ ง ปัญญา เถาว์ชาลี และคณะ. แนวคิดรัฐ-เขตแห่งวัฒนธรรม : ข้อเสนอบนความหลากหลายทางชีวชาติพันธุ์และความ
หลากหลายทางวัฒนธรรมของชนชาติพืนD เมือง. วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ ปีที $ 4 ฉบับ
ที $ 1 มกราคม – มิถุนายน 2558.
นิษฐา หรุ่นเกษม. [Online]. 26 มิถุนายน 2547. แหล่งทีม$ าhttp://v1.midnightuniv.org/midnight2545/document983.html
ปราโมทย์ ภักดีณรงค์. ปัญหาเชิงโลกาภิวัฒน์ในขบวนการท้องถินนิยมของเพลงโคราช. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี ปีที $ 7 ฉบับที $ 2
ธันวาคม 2557.
ปรีชา คุวินทร์พันธุ์. ศาสนา ชาติพันธ์ุ–ชาตินิยม ความรุนแรง. รายงานวิจัยชุดปัญหาความมัน$ คงใหม่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ
วิจัย (สกว.), 2548.
ป$ินแก้ว เหลืองอร่ามศรี. อัตลักษณ์ ชาติพันธุ์ และความเป็นชายขอบ, 2546.
ป$ินวดี ศรีสุพรรณ และคณะ, รือD สร้างประเพณี: การเปลียนแปลงของบุญบังD ไฟในยุคโลกาภิวัฒน์, วารสารสังคมลุ่มนํ0าโขง ปีที $ 7 ฉบับที $ 2
พฤษภาคม – สิงหาคม 2554.
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542.
พรรณิดา ขันธพัทธ์, การปรับเปลียนวิถีทางประเพณีพิธีกรรม ความเชือและอัตลักษณ์ของชาวไทใหญ่ในจังหวัดเชียงใหม่,
วารสารวิชาการมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที $ 23 ฉบับที $ 41 มกราคม – เมษายน 2558.
มงคล พนมมิตร, การดำรงอัตลักษณ์ของชุมชนกลุ่มน้อยในภาคเหนือ, หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การศึกษานอกระบบ)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2551.
ยศ สันตสมบัติ และคณะ, อำนาจ พืDนทีและอัตลักษณ์ทางชาติพันธ์ุ: การเมืองวัฒนธรรมของรัฐชาติในสังคมไทย, (ศูนย์
มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), กรุงเทพมหานคร, 2551).
รุ้งนภา ยรรยงเกษมสุข, โลกาภิวัฒน์ ท้องถินนิยม กับการโหยหาอดีต, วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที $ 2
ฉบับที $ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2557.
เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ, โลกาภิวัฒน์กับท้องถิน, บริษัทบพิธการพิมพ์จำกัด, 2555.
วิถี พาณิชพันธ์, วิถีล้านนา, ห้างหุ้นส่วนจำกัดสำนักพิมพ์ซิลค์เวอร์ม, 2548.
ศรีศักร วัลลิโภดม, พัฒนาการทางสังคม – วัฒนธรรมไทย, ด่านสุทธาการพิมพ์, กรุงเทพมหานคร, 2554.
ศรีศักร วัลิโภดมและวลัยลักษณ์ ทรงศิริ, ปฏิบัติการประวัติศาสตร์ท้องถิน. ชุดคู่มือเพือ$ การศึกษาท้องถน$ิ 1. สำนักพิมพ์มูลนิธิเล็ก –
ประไพ วิริยะพันธุ์, 2557.
ศิขรา ศิริสาร, กระบวนการปฏิสัมพันธ์และการสร้างอัตลักษณ์ร่วมในแฟนเพจเฟซบุ๊ก: ศึกษากรณีแฟนเพจฮิปคิงดอม, วารสารวิทย
บริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที $ 24 ฉบับที $ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2556.
โศจิลักษณ์ กมลศักดาวิกุล, ตลาดย้อนยุคสามชุก: การเมืองเรืองพืDนทีและธุรกิจแห่งการถวิลหาอดีต, (ปริญญานิพนธ์หลักสูตร
ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาศิลปวัฒนธรรมวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2556).
สุดแดน วิสุทธิลักษณ์, วิธีวิทยารืDอสร้างอัตลักษณ์, พิมพ์ครัง0 ที $ 1 โครงการตัวตนคนยองกับท้องถน$ิ ล้านนา: สือ$ การเมืองอัตลักษณ์ในยุค
โลกาภิวัฒน์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2555.
เสกสรร สรรสรพิสุทธิ,{ อัตลักษณ์ของไทลือD และการปรับตัวเพือความอยู่รอดภายใต้ระบบเศรษฐกิจ ทุนนิ ยม : กรณีศึกษาบ้านแม่
สาบ ตำบลสะเมิงใต้ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่, หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการมนุษย์กับสิ$งแวดล้อม)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2546.
อภินันท์ ธรรมเสนา, การประกอบสร้างอัตลักษณ์ชาติพันธุของกลุ่มคนยองในจังหวัดลำพูน, วิทยานิพนธ์หลักสูตรสังคมวิทยาและ
มานุษยวิทยามหาบัณฑิต คณะสังคมศาสตรและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553.
อานันท์ กาญจนพันธุ์. ท้องถินพัฒนากับโลกาภิวัตน์. ชุดความรู้เทีย$ งคืน เล่มทีห$ นึ$ง. http://www.midnightuniv.org/. 2554.
อารีย์ นัยพินิจ ภัทรพงษ์ เกริกสกุลและคณะ, การปรับตัวภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ปีที $ 7
ฉบับที $ 1 มกราคม – มิถุนายน 2557.
อินทิรา พงษ์นาค, อัตลักษณ์ชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี, วารสาร Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับ
ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ ปีที $ 8 ฉบับที $ 3 กันยายน – ธันวาคม.