เศรษฐกิจพอเพียงกับแนวทางการพัฒนา สหกรณ์ กรณีศึกษา: สันนิบาติสหกรณ์แห่งประเทศไทย เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

Main Article Content

ชลิดา แย้มศรีสุข

บทคัดย่อ

จากการศึกษาวิจัยโดยรวบรวมข้อมูลจากการวิเคราะห์เอกสารพบว่า ที่ผ่านมาภาครัฐให้ความสำคัญต่อสหกรณ์ภาคการเกษตรมากเป็นพิเศษ มากกว่าสหกรณ์ประเภทอื่นๆ เช่น การเดินรถ สหกรณ์ประเภทนี้ไม่ค่อยได้รับการดูแลหรือได้รับการดูแลน้อยมาก ภาครัฐควรเข้ามาดูแลสหกรณ์ให้ครบทุกประเภท เพราะสมาชิกขาดความเข้าใจและขาดสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ ขาดความรัก ความศรัทธาและความเป็นเจ้าของกิจการต่างๆของสหกรณ์ ไม่สามารถพัฒนาสมาชิกให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นได้จริง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมตรวจบัญชีสหกรณ์. แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ปี 54. ค้นเมื/อ 13 มกราคม 2557 จาก
http://203.154.183.18/ewt/cadweb_org/ewt_new.php?nid=10452, ม.ป.ป.
กรมส่งเสริมสหกรณ์. คู่มือธรรมาภิบาล. ค้นเมื/อ 11 ธันวาคม 2556 จากสำนักงานส่งเสริมสหกรณ์พื้นที่
http://webhost.cpd.go.th/area1/data1.html, 2552.
ดวงพร หัชวาณิช และบัญชา ชลาภิรมย์.(เมษายน-มิถุนายน 2554). โครงสร้างขบวนการสหกรณ์ไทย.
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 99-113.
ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์. เศรษฐกิจพอเพียงกับวิกฤติเศรษฐกิจ. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2542.
ณพิชญา วาจามธุระ. “กระบวนการพัฒนาและปัจจัยทีNมีผลต่อความสำเร็จในการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง : กรณีศึกษา4 ชุมชน. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (การจัดการ
ทรัพยากร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2552.
อรสุดา เจริญรัถ. เศรษฐกิจพอเพียงภายใต้การเปลีNยนแปลงของสังคมไทย.กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ดีจำกัด, 2546.