พระพุทธศาสนากับสันติภาพ
Main Article Content
บทคัดย่อ
พระพุทธศาสนาเป็นความหวังของประชาสาธุชนทั้งหลายที่จะนำพาวิถีอารยธรรมไปสู่การพัฒนาสันติภาพ โดยเริ่มที่การพัฒนาบุคคล ให้อยู่กับด้วยหลีกเว้นจากการเบียดเบียนกันด้วยกายวาจา มีท่าทีปรารถนาดีต่อกัน ด้วยไมตรีจิตมิตรภาพ มีความมุ่งมั่นสู้ปัญหา และมีปัญญาใคร่ครวญไตร่ตรองให้รอบด้านในการที่จะทำการทั้งหลาย โดยตระหนักว่าไม่ทำลายตน สังคม และสภาพแวดล้อม ในปัจจุบันเกิดการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ สังคม ตลอดจนความมั่งคั่งพรั่งพร้อมทางด้านวัตถุ ภายใต้กระแสการแข่งขันอันเชี่ยวกรากนั้นและความเป็นไปของอารยธรรม กลับมีปัญหาในทุกระดับ กล่าวคือ ระดับบุคคล ภายในใจของบุคคลกำลังเรียกร้องหาไมตรีจิตมิตรภาพ
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิชาการ
References
ขุทฺทก.อ. (ไทย) 1/1/26.
พระดุษฎี เมธงฺกุโร. การพัฒนาสังคมตามทัศนะของพุทธทาสภิกขุ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2532.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). มองสันติภาพผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: บริษัทสหธรรมิก จำกัด, 2542.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต).นิติศาสตร์แนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สหธรรมิก จำกัด, 2539.
พระไพศาล วิสาโล. พุทธศาสนาไทยในอนาคต แนวโน้มและทางออกจากวิกฤต. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสัดศรีสฤษดิ์วงศ์, 2546.
โยฮัน กัลตุง. การเปลFียนแปลงขับเคลื่อนความขัดแย้งด้วยสันติวิธี. แปลโดย เดชา ตั้งสีฟ้า. กรุงเทพมหานคร:โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2550.
ศรีเพ็ญ ศุภพิทยากุล. มนุษย์กับสันติภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2552.
พระวิมาน คมฺภีรป]ฺโญ (ตรีกมล). “ การศึกษาวิเคราะห์ศีล 5 ในฐานะเป็นรากฐานของสันติภาพ ”. วิทยานิพนธ์พุทธ
ศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช, 2555.
มานะ วิวัตพงษ์. “บทบาทของคณะมนตรีความมัน1 คงกับการรักษาสันติภาพและความมัน1 คงระหว่างประเทศ: มุมมอง
ทางกฎหมาย”. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2545.
วีระ สมบูรณ์. อริยวินัยสำหรับคริสต์วรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: โกมล คีมทอง, 2545.
สุนัย เศรษฐบุญสร้าง. การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของพุทธศาสนาในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2532.
พระดุษฎี เมธงฺกุโร. การพัฒนาสังคมตามทัศนะของพุทธทาสภิกขุ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2532.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). มองสันติภาพผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: บริษัทสหธรรมิก จำกัด, 2542.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต).นิติศาสตร์แนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สหธรรมิก จำกัด, 2539.
พระไพศาล วิสาโล. พุทธศาสนาไทยในอนาคต แนวโน้มและทางออกจากวิกฤต. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสัดศรีสฤษดิ์วงศ์, 2546.
โยฮัน กัลตุง. การเปลFียนแปลงขับเคลื่อนความขัดแย้งด้วยสันติวิธี. แปลโดย เดชา ตั้งสีฟ้า. กรุงเทพมหานคร:โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2550.
ศรีเพ็ญ ศุภพิทยากุล. มนุษย์กับสันติภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2552.
พระวิมาน คมฺภีรป]ฺโญ (ตรีกมล). “ การศึกษาวิเคราะห์ศีล 5 ในฐานะเป็นรากฐานของสันติภาพ ”. วิทยานิพนธ์พุทธ
ศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช, 2555.
มานะ วิวัตพงษ์. “บทบาทของคณะมนตรีความมัน1 คงกับการรักษาสันติภาพและความมัน1 คงระหว่างประเทศ: มุมมอง
ทางกฎหมาย”. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2545.
วีระ สมบูรณ์. อริยวินัยสำหรับคริสต์วรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: โกมล คีมทอง, 2545.
สุนัย เศรษฐบุญสร้าง. การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของพุทธศาสนาในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2532.