ผลการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้หนังสือคำคล้องจองประกอบภาพ เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการฟัง การพูด และพฤติกรรมทางสังคมสำหรับเด็กชั้นปฐมวัยปีที่ 1
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถด้านการฟังหลังการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้หนังสือคำคล้องจองประกอบภาพ 2) เปรียบเทียบความสามารถด้านการพูดหลังการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้หนังสือคำคล้องจองประกอบภาพ และ 3) เปรียบเทียบพฤติกรรมทางสังคมหลังการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้หนังสือคำคล้องจองประกอบภาพ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เด็กชั้นปฐมวัยปีที่ 1/2 โรงเรียนเทศบาล 1 (สังขวิทย์) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครตรัง ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวนทั้งสิ้น 26 คน ได้มาจากการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) หนังสือคำคล้องจองประกอบภาพ 2) แผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้หนังสือคำคล้องจองประกอบภาพ 3) แบบสังเกตความสามารถด้านการฟัง 4) แบบสังเกตความสามารถด้านการพูด และ 4) แบบสังเกตพฤติกรรมทางสังคม
ผลการวิจัยพบว่า
- ความสามารถด้านการฟังของเด็กชั้นปฐมวัยปีที่ 1 หลังการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้หนังสือคำคล้องจองสูงขึ้น
- ความสามารถด้านการพูดของเด็กชั้นปฐมวัยปีที่ 1 หลังการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้หนังสือคำคล้องจองสูงขึ้น
3. พฤติกรรมทางสังคมของเด็กชั้นปฐมวัยปีที่ 1 หลังการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้หนังสือคำคล้องจองประกอบภาพมีพัฒนาการสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
Article Details
References
กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพมหานคร สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2561.
กุลยา ตันติผลาชีวะ. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สําหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร เบรนเบสบุ๊คส์, 2551.
ดวงสมร ศรีใสคำ. ผลของกิจกรรมการเล่านิทานพื้นบ้านที่มีต่อพัฒนาการทางภาษาด้านการพูดของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552.
ดวงเดือน ศาสตรภัทร. พัฒนาการทางสติปัญญาตามทฤษฎีเพียเจท์. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2529.
ดวงเดือน ศาสตรภัทร. การวัดและประเมินพัฒนาการด้านการคิดของเด็กปฐมวัย. นนทบุรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549.
นงลักษณ์ กันปัญญา. การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาในการสื่อสารของเด็กปฐมวัยโดยใช้หนังสือภาพประกอบ การเล่าเรื่อง หน่วยเที่ยวสวนสะออน. การศึกษาค้นคว้าอิสระ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2549.
นิตยา ประพฤติกิจ. คณิตศาสตร์สำหรับปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร โอเดียนสโตร์, 2549.
บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์. การจัดประสบการณ์สำหรับเด็ก. กรุงเทพมหานคร อักษรไทย, 2544.
บุศรินทร์ สิริปัญญาธร. “กิจกรรมศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัย”. วารสารการศึกษาปฐมวัย, ปีที่ 6 ฉบับที่ 3, กรกฎาคม 2545.
พลอย สุภิษะ. การพัฒนาและหาประสิทธิภาพแผนการจัดประสบการณ์โดยใช้หนังสือภาพประกอบการเล่าเรื่องในกิจกรรมเสริมประสบการณ์ชั้นอนุบาลปีที่ 2. งานวิจัยโรงเรียนบ้านบักจรัง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3, 2553.
พวงพิศ เรืองศิริกุล, ชวนชม เครือเขียว, และ สุมิตรา ชาตานันท์. “การจัดกิจกรรมเสริมสร้างประสบการณ์โดยใช้หนังสือคำคล้องจองประกอบภาพเพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาด้านการฟังและการพูดสำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ชุดเที่ยวไปในจังหวัดของหนู”. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น,ปีที่ 7 ฉบับที่ 4, เมษายน 2564.
พิชญาดา ธาตุอินจันทร์. การใช้นิทานภาพเพื่อพัฒนาทักษะการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัย. การค้นคว้าแบบอิสระ. เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2551.
พีรยา กิตติ์วรกุล. “การจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้หนังสือคำคล้องจองประกอบภาพเพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาด้านการฟัง การพูด ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาลตำบลงิม (คือเวียงจ่ำ)”. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ปีที่ 2 ฉบับที่ 6, กันยายน - ธันวาคม 2562.
ไพรสุวรรณ คะณะพันธ์ และคณะ. “การพัฒนาทักษะการพูดภาษาไทยของเด็กปฐมวัย โดยใช้คำคล้องจองประกอบภาพระดับชั้นอนุบาล 2 โรงเรียนบ้านโพนเมืองมะทัน อำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี”. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานีวิชาการ ครั้งที่ 5, 2563.
เยาวพา เดชะคุปต์. กิจกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร เจ้าพระยาระบบการพิมพ์, 2542.
รติรส ก้อนเงิน. ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือต่อพฤติกรรมจริยธรรมด้านความเอื้อเฟื้อของเด็กปฐมวัย. วิทยานิพนธ์. กรุงเทพมหานคร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2551.
วินัย รอดจ่าย. การเขียนและจัดทำหนังสือเด็กและเยาวชน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการศึกษาพิเศษ คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,2540.
สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. การจัดการศึกษาปฐมวัยในมลรัฐไอโอวาและมลรัฐมินนิโซตา ประเทศสหรัฐอเมริกา. วิทยานิพนธ์, กรุงเทพมหานคร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2550.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร สำนักนายกรัฐมนตรี, 2542.
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. แผนการศึกษาชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579): ฉบับสรุป. กรุงเทพมหานคร พริกหวาน กราฟฟิก, 2545.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พุทธศักราช 2560-2564. กรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2559.
สุภาภรณ์ สงนวน. การเปรียบเทียบทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยระหว่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการละเล่นพื้นบ้านกับการจัดกิจกรรมแบบปกติ. วิทยานิพนธ์. กศ.ม. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2551.
อริสา โสคำภา. พฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมเล่านทานอีสปประกอบการใช้สถานการณ์จำลอง.
วิทยานิพนธ์, กรุงเทพมหานคร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2551.
อัจจิมา ศิริพิบูลย์ผล. ทักษะทางสงคมของเด็กปฐมวัยออทิสติกที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเล่นแบบร่วมมือ. วิทยานิพนธ์, กรุงเทพมหานคร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2552.
อาลัย เนรานนท์. การอบรมเลี้ยงดูเด็ก. ลพบุรี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี, 2548,
Dewey, J. Experience and education. New York : Macmillan Publishing Company, 1963.
Erik Erikson. Experience in Science for Young Children. New York : A Division of Litton Educational Publishing, 1980.
Simpson, T. Characteristic of Oral Language used by selected four-years old in Story Retelling. Ph.D., University of Missouri-Columbia, 1988.