สันติวิธีเชิงพุทธ : แนวคิด และวิถีแห่งการปฏิบัติในสังคมร่วมสมัย

Main Article Content

พระมหาบวรวิทย์ อายุมั่น

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ความเป็นมาและสาระความสำคัญ เกี่ยวกับสันติวิธี  วิถีแห่งการปฏิบัติในสังคมร่วมสมัยตามแนวทางพระพุทธศาสนา ซึ่งประเด็นที่น่าสนใจจะกล่าวถึง หลักการที่ว่าด้วยสันติวิธี หรือสันติวิธีเชิงพุทธ ที่มีความสอดคล้องกับแนวทางการอิงอาศัยกัน โดยปราศจากการโต้แย้งหรือการขัดแย้งในสังคม มีการนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเข้ามาบูรณาการอันนำไปสู่ความสุข สงบ ในสังคมร่วมสมัย

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กันต์ สาระทิศ, พุทธสันติวิธีเพื่อสร้างความปรองดอง, [ออนไลน์] แหล่งที่มา : http://kantacandidate.blogspot.com/ [๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๔]
ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. อาวุธมีชีวิต: แนวคิดเชิงวิพากษ์ว่าด้วยความรุนแรง. กรุงเทพมหานคร :สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน, ๒๕๔๖.
ดร.ประสิทธิ์กุลบุญญา. “ความขัดแย้งและการจัดการความขัดแย้งตามหลักพระพุทธศาสนา”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธาน. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม - มิถุนายน ๒๕๕๗)
ปิ่น มุทุกันต์. พุทธศาสตร์ (ภาค ๒). กรุงเทพมหานคร : มหามกุฎราชวิทยาลัย,๒๕๓๕.
บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ. “สันติวิธี : การจัดการความขัดแย้งตามแนวทางสันติวิธี”.วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๐)
พระเทพเวที (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสนาฉบับประมวลธรรม.กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๒.
พระไพศาล วิสาโล. สันติวิธี วิถีแห่งอาระ. กรุงเทพมหานคร : เรือนแก้วการพิมพ์, ๒๕๔๙.
พลตำรวจเอก พัชรวาท วงษ์สุวรรณ. หลักนิติธรรมในการสร้างความสมานฉันท์โดยแนวทางสันติวิธี. เอกสารวิชาการส่วนบุคคล : วิทยาลัยรัฐธรรมนูญ สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ ๑๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑.
__________. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๑๖. กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์ จำกัด, ๒๕๕๑.
พระปลัดพัทธพงษ์ ธมฺมนนฺโท (สอนแก้ว). “พุทธสันติวิธีเพื่อการสร้างความสมานฉันท์ของโครงการสร้างโรงไฟฟ้ากระบี่”. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔ (เมษายน ๒๕๖๓)
พระธรรมปิฎก. (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๗. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕.
พระพิชิตชัย จิรวฑฺฒโน, ศาสนากับสันติภาพ, [ออนไลน์] แหล่งที่มา : https://www.gotoknow.org/ [๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๔]
พระมหานครินทร์ แก้วโชติ. “สันติภาพตามแนวคิดของท่านพุทธทาสภิกขุ: ความหมายและการประยุกต์ใช้ในโลกปัจจุบัน”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๘.
พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส (นิธิบุณยากร). “รูปแบบการจัดการความขัดแย้งโดยพุทธสันติวิธี : ศึกษาวิเคราะห์กรณีลุ่มน้ําแม่ตาช้าง จังหวัดเชียงใหม่”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๘).
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
ระวี ภาวิไล. มนุษย์กับสันติภาพ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๑.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพมหานคร : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์, ๒๕๔๖.
วรเศรษฐ์บัวดอก, “หลักพุทธธรรมเพื่อการเสริมสร้างความสามัคคีในการทำงาน”, วารสารพุทธจิตวิทยา, ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๔)
วันชัย วัฒนศัพท์ (ศ.นพ.). ความขัดแย้ง: หลักการและเครื่องมือแก้ปัญหา. พิมพ์ครั้งที่ ๒.กรุงเทพมหานคร : สถาบันพระปกเกล้า ,๒๕๔๗.
เสฐียร พันธรังสี. ศาสนาเปรียบเทียบ ๑. กรุงเทพมหานคร : สุขภาพใจ, ๒๕๔๙.
สถาบันพระปกเกล้า, สันติวิธี, [ออนไลน์] แหล่งที่มา : http://wiki.kpi.ac.th/ [๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๔