This is an outdated version published on 2021-12-31. Read the most recent version.
การดำเนินชีวิตตามหลักอริยวัฑฒิ 5 ในยุคการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการดำเนินชีวิตตามหลักอริยวัฑฒิ5 ในยุคการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด–19 ของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และ 2) เปรียบเทียบการดำเนินชีวิตตามหลักอริยวัฑฒิ5 ในยุคการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด–19 ของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย ที่จำแนกตามเพศ อายุ สถานภาพสมรส และรายได้ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 193 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-Way ANOVA (F-test)
ผลการวิจัยพบว่า
- นักศึกษามีการดำเนินชีวิตตามหลักอริยวัฑฒิ 5 ในยุคการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด–19 โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก (x= 4.13, S.D. = 0.55) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านสุตะ อยู่ในระดับมาก (x= 4.16, S.D. = 0.60) รองลงมา คือด้านจาคะ อยู่ในระดับมาก (x= 4.15, S.D. = 0.58) ด้านศรัทธา อยู่ในระดับมาก (x= 4.11, S.D. = 0.61) ด้านศีล อยู่ในระดับมาก (x= 4.11, S.D. = 0.61) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านปัญญา อยู่ในระดับมาก (x= 4.10, S.D. = 0.62) เรียงตามลำดับค่าเฉลี่ย
- ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า นักศึกษาที่มีอายุและมีสถานภาพสมรสแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการดำเนินชีวิตตามหลักอริยวัฑฒิ 5 ในยุคการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด–19 โดยรวมทั้ง 5 ด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ 0.05 ส่วนนักศึกษาที่มีเพศและที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการดำเนินชีวิตตามหลักอริยวัฑฒิ 5 ในยุคการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด–19 โดยรวมทั้ง 5 ด้าน ไม่แตกต่างกัน
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิจัย
References
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: shorturl.asia/gmneR [26 กรกฎาคม 2563].
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: shorturl.asia/MSZeK [6 ตุลาคม 2564].
จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน, “พฤติกรรมสารสนเทศในยุคโควิด–19”, วารสารห้องสมุด, ปีที่ 64 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563): 36-49.
ทีมคุณภาพชีวิต. เช็ค!! วันนี้ ไทยนำเข้า ‘ซิโนแวค’ ไปแล้วกี่ล้านโดส หลังเกิดเหตุ 'วัคซีนกลายเป็นเจล'. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: shorturl.asia/wCljS [18 มิถุนายน 2564].
บีบีซี นิวส์. โควิด-19: เรารู้อะไรบ้างเกี่ยวกับวัคซีน "โคโรนาแวค" ของซิโนแวคที่นำเข้าหลายล้านโดส. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: shorturl.asia/wCljS [18 มิถุนายน 2564].
พงศ์อิศเรศ ไทยสะเทือน, “รูปแบบการดำเนินชีวิต การเปิดรับข่าวสารและทัศนคติที่มีต่อรถยนต์ฮอนด้าของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร”, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, (สาขาวิชาสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์), 2558.
พระครูศรีปริยัติวิธาน, “ความคิดเห็นของประชาชนต่อการป้องกันและรักษาโรคติดเชื้อโควิด-19 ตามหลักอริยสัจ 4”, วารสารศิลปการจัดการ, ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ( ตุลาคม-ธันวาคม 2563): 521-536.
พระครูสุตภัทรธรรม พระมหาสำรอง สญฺญโต ประยูร แสงใส และหอมหวล บัวระภา, “อริยวัฑฒิ 5 ในฐานะคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของเยาวชน”, Journal of Modern Learning Development, ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (มีนาคม – เมษายน 2563): 262-273.
พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2539. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), สู่การศึกษาแนวพุทธ, (นครปฐม: วัดญาณเวศกวัน, 2546), หน้า 165-169.
พระอาจารย์สมภพ โชติปญฺโญ. อริยวัฑฒิ 5. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://youtu.be/qFGna2iGk9Y [26 กรฎาคม 2563].
พวงชมพู ประเสริฐ. ฝ่าวิกกฤตโควิด-19. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: shorturl.asia/PkREq [25 กรกฎาคม 2563].
มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก. โควิด-19 คืออะไร. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: shorturl.asia/anOct [26 กรกฎาคม 2563].
รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร และสุรชัย อุตมอ่าง, “รูปแบบการดำเนินชีวิตครัวเรือนของหัวหน้าครอบครัวต่อการพัฒนาหมู่บ้านตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของสถานีเกษตรหลวงปางดะ”, Suranaree Journal of Science and Technology, ปีที่ 7 ฉบับที่ 2; (กรกฎาคม-ธันวาคม 2556): 21-36.
ศศิวิมล เหลืองอิงคะสุต และมัลลิกา ผลอนันต์, “ความคิดเห็นของพนักงานระดับปฏิบัติการต่อการดำเนินกิจกรรมเพื่อสังคมของบริษัทมหาชนแห่งหนึ่งในปี 2558”, วารสารวิชาการ มทร.สุวรรณภูมิ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), ปีที่1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559): 138-144.
อัจฉราวรรณ กันจินะ, “พุทธบูรณาการในการดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพของผู้เกษียณอายุราชการ”, วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2562): 79-92.
Mathieu, E., Ritchie, H., Ortiz-Ospina, E. et al. A global database of COVID-19 vaccinations. Nat Hum Behav (2021). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา shorturl.asia/sbmSH [18 มิถุนายน 2564].
U.S. Foood and Drug Aministration. FDA Approves First COVID-19 Vaccine. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: shorturl.asia/6b5iZ [18 มิถุนายน 2564].
World Health Organization. Coronavirus disease (COVID-19) questions and answers on vaccine. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: shorturl.asia/IvGoN [18 มิถุนายน 2564].
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: shorturl.asia/MSZeK [6 ตุลาคม 2564].
จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน, “พฤติกรรมสารสนเทศในยุคโควิด–19”, วารสารห้องสมุด, ปีที่ 64 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563): 36-49.
ทีมคุณภาพชีวิต. เช็ค!! วันนี้ ไทยนำเข้า ‘ซิโนแวค’ ไปแล้วกี่ล้านโดส หลังเกิดเหตุ 'วัคซีนกลายเป็นเจล'. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: shorturl.asia/wCljS [18 มิถุนายน 2564].
บีบีซี นิวส์. โควิด-19: เรารู้อะไรบ้างเกี่ยวกับวัคซีน "โคโรนาแวค" ของซิโนแวคที่นำเข้าหลายล้านโดส. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: shorturl.asia/wCljS [18 มิถุนายน 2564].
พงศ์อิศเรศ ไทยสะเทือน, “รูปแบบการดำเนินชีวิต การเปิดรับข่าวสารและทัศนคติที่มีต่อรถยนต์ฮอนด้าของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร”, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, (สาขาวิชาสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์), 2558.
พระครูศรีปริยัติวิธาน, “ความคิดเห็นของประชาชนต่อการป้องกันและรักษาโรคติดเชื้อโควิด-19 ตามหลักอริยสัจ 4”, วารสารศิลปการจัดการ, ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ( ตุลาคม-ธันวาคม 2563): 521-536.
พระครูสุตภัทรธรรม พระมหาสำรอง สญฺญโต ประยูร แสงใส และหอมหวล บัวระภา, “อริยวัฑฒิ 5 ในฐานะคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของเยาวชน”, Journal of Modern Learning Development, ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (มีนาคม – เมษายน 2563): 262-273.
พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2539. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), สู่การศึกษาแนวพุทธ, (นครปฐม: วัดญาณเวศกวัน, 2546), หน้า 165-169.
พระอาจารย์สมภพ โชติปญฺโญ. อริยวัฑฒิ 5. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://youtu.be/qFGna2iGk9Y [26 กรฎาคม 2563].
พวงชมพู ประเสริฐ. ฝ่าวิกกฤตโควิด-19. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: shorturl.asia/PkREq [25 กรกฎาคม 2563].
มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก. โควิด-19 คืออะไร. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: shorturl.asia/anOct [26 กรกฎาคม 2563].
รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร และสุรชัย อุตมอ่าง, “รูปแบบการดำเนินชีวิตครัวเรือนของหัวหน้าครอบครัวต่อการพัฒนาหมู่บ้านตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของสถานีเกษตรหลวงปางดะ”, Suranaree Journal of Science and Technology, ปีที่ 7 ฉบับที่ 2; (กรกฎาคม-ธันวาคม 2556): 21-36.
ศศิวิมล เหลืองอิงคะสุต และมัลลิกา ผลอนันต์, “ความคิดเห็นของพนักงานระดับปฏิบัติการต่อการดำเนินกิจกรรมเพื่อสังคมของบริษัทมหาชนแห่งหนึ่งในปี 2558”, วารสารวิชาการ มทร.สุวรรณภูมิ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), ปีที่1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559): 138-144.
อัจฉราวรรณ กันจินะ, “พุทธบูรณาการในการดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพของผู้เกษียณอายุราชการ”, วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2562): 79-92.
Mathieu, E., Ritchie, H., Ortiz-Ospina, E. et al. A global database of COVID-19 vaccinations. Nat Hum Behav (2021). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา shorturl.asia/sbmSH [18 มิถุนายน 2564].
U.S. Foood and Drug Aministration. FDA Approves First COVID-19 Vaccine. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: shorturl.asia/6b5iZ [18 มิถุนายน 2564].
World Health Organization. Coronavirus disease (COVID-19) questions and answers on vaccine. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: shorturl.asia/IvGoN [18 มิถุนายน 2564].