คำเรียกสี : วัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงตามช่วงอายุของภาษาจ้วงอู่หมิง เมืองหนานนิง มณฑลกวางสี ZHEHUI HUANG1 FANFFANG HUANG2 SIYU LIN3 นพรัตน์ น้อยเจริญ.4

Main Article Content

Zhehui huang

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบการใช้คําเรียกสีของคนสามช่วงอายุในภาษาจ้วงอู่หมิง เมืองหนามหนิง มณฑลกวางสี โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลภาษาจำนวน 30 คน เป็นชาวจ้วงโดยกำเนิด อยู่อู่หมิงหนานหนิงกวางสี แบ่งออกตามสามช่วงอายุเป็น 3 กลุ่มคือช่วงอายุที่ 1 อายุ 55-65 ปีช่วงอายุที่ 2 อายุ 35-45 ปี และช่วงอายุที่ 3 อายุ 15-25 ปี คำเรียกสีพื้นฐานจำนวน 8 คำ ได้แก่ 1. สีดำ /daem/  2. สีขาว /hao/ 3. สีเหลือง /lw:ang/  5.สีเขียว  /Luo/ 6. สีฟ้า /khra:m/ 7. ม่วง/sis/  8. สีน้ำตาล /song/  


    ผลการวิจัยพบว่า ชาวจ้วงที่มีช่วงอายุต่างกัน ใช้คำเรียกสีภาษาจ้วงพื้นฐานแตกต่างกัน ช่วงอายุ ที่ 55-65ปี ซึ่งถือได้ว่าเป็นตัวแทนของกลุ่มคนในอดีต ใช้คำเรียกสีพื้นฐานภาษาจ้วงคิดเป็นร้อยละ 78.75 อายุที่ 35-45ปี ซึ่งถือได้ว่าเป็นตัวแทนของกลุ่มคนในปัจจุบัน ใช้คำเรียกสีพื้นฐานภาษาจ้วงคิดเป็นร้อยละ 60 และอายุที่ 15-25ปี ซึ่งถือได้ว่าเป็นตันแทนของกลุ่มคนในอนาคต ใช้คำเรียกสีพื้นฐานภาษาจ้วงคิดเป็นร้อยละ 5 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยคำเรียกสีของภาษาจ้วงอู่หมิงโดยมีตัวแปรที่สำคัญคือช่วงอายุที่แตกต่างกัน ผลการวิจัยเห็นความแตกต่างและการเปลี่ยนแปลงทางภาษาอย่างชัดเจน อนาคตคำเรียกสีของภาษาจ้วงอู่หมิงจะถูกแทนที่ด้วยภาษาจีนกลาง อิทธิพลของภาษาจีนกลางเข้ามามีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวัน


 


 


 


 


 


 


 


 


 


 

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

Zhehui huang, มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ

-

References

Berlin, B., and Kay, P. (1969). Basic color terms: their universality and evolution. Berkeley: University of California Press.

Jiang, Q. (2017). A comparison about color terms and color perception between thai of bangkok people and chinese of hanpeople in nanning. (Master’s Thesis). Thammasat University. Bangkok.

Key, P. “Synchronic variability and diachronic in basic color terms.” Language in Society 4, 3 (Dec 1975), 257-270.

Mei, C. (2014). Color Terms Formation of the Chinese with Different Ages. (Master’s Thesis). Mahasarakham University. Mahasarakham.

Noybangyang, K. (2021). Color words in Thai Society Context. himoldhamma Research Institute Journal, 8(1), 117-125.

Prasithrathsin, A. (1995). Zhuang and Thai color terms and color perception. Chulalongkorn University. Bangkok.

Qin, X. (2011). Changes in Zhuang induced by a language contact with Mandarin Chinese. (Doctoral Dissertation). Chulalongkorn University. Bangkok.

Sodsongkrit, M. (2016). Zhuang Language: ChineseScholars’ Perspective on Tai language in China. Journal of Cultural Approach, 15(2).

Sun, J. (2006). Ancient Color-favored Culture and the Chinese ColorWords. Journal of China YouthUniversity for Political Science, 3.

Wu, G., and Noyjarean, N. (2019). Comparative study of basic color terms, taste-smell between Thai and Han languages : Bangkok: The 9th BENJAMITRANetwork National & International Conference North Bangkok University, Bangkok,Thailand May 28th, 2019. p 218-217.

Zheng, Z. (2005). Gui bei ping hua yu tui guang pu tong hua yan jiu. Lingui Yining

huayan jiu. Nanning Shi : Guangxi min zu chu ban she.