อาหารที่ใช้ในการประกอบพิธีกรรมวันตรุษจีน: กรณีศึกษาเปรียบเทียบระหว่างชาวไทยเชื้อสายจีนกับชาวจีนในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ซิซิน เซียง1, สีเหวิน หลิว2, ฟูยู มา3, ซูเหว่ย หวง4, นพรัตน์ น้อยเจริญ5, ศุภิสรา เทียนสว่างชัย6 และปราง ศรีอรุณ7

Main Article Content

Zixin Xiang

บทคัดย่อ

ชาวไทยเชื้อสายจีนมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน วัฒนธรรมดั้งเดิมของจีนได้ถ่ายทอดมายังดินแดนประเทศไทยมาตั้งแต่ครั้งอดีต พร้อมกับการอพยพของชาวจีนมาสู่ประเทศไทย ชาวไทยเชื้อสายจีนบนแผ่นดินไทยยังคงรักษาวัฒนธรรมและประเพณีของจีนเอาไว้ และยึดถือปฏิบัติสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน วันตรุษจีน เป็นหนึ่งในการสืบทอดวัฒนธรรมดั้งเดิมของจีนที่ฝั่งรากในวัฒนธรรมทั้งไทยและจีนมายาวนาน อย่างไรก็ตาม เมื่อความเจริญเพิ่มขึ้นและสังคมเปลี่ยนแปลงไป วัฒนธรรมอาหารของทั้งสองประเทศในช่วงวันตรุษจีนก็ได้เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพสังคม และก่อให้เกิดความหมายทางวัฒนธรรมของตนเอง พร้อมทั้งยังคงแสดงบทบาททางวัฒนธรรมดั้งเดิมทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัติ


บทความนี้ศึกษาอาหารที่ใช้ในพิธีตรุษจีนระหว่างชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีนและชาวจีนในสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยเปรียบเทียบอาหารในพิธีตรุษจีนกับอาหารที่ใช้ในวัดเจ้าแม่กวนอิมในพิธีตรุษจีน (วัดเจ้าแม่กวนอิม)  ผลการวิจัยพบว่า อาหารที่ใช้ในการประกอบพิธีกรรมวันตรุษจีนระหว่างชาวไทยเชื้อสายจีนกับชาวจีนในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนมีความแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมอาหาร แต่ยังคงยึดถือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบพิธีกรรมเช่นเดิม


 

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

Zixin Xiang, มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ

-

References

Imurai, T., Upawanich, P., Hoomchaaim, A., and Limtrakul, A. (2016). Migration route

and livelhood of chinese – thai in yao wa rat and pak nam pho (Research

project). Faculty of Social Sciences, Kasetsart University.

Luengsaksri, N. (2019). Worship Traditions in Chinese New Year: Origin, Meaning and

Changes. Journal of Research and Development Institute, Rajabhat Maha

Sarakham University, 6(1), 383-394.

Ming, J. (2019). chinese new year culture in Thailand. Maenakong, (210), 63-64.

Siripaisarn, S., and Karnjanadid, S. (2008). Rituals and Beliefs of Chinese Thai in Songkhla Basin from Past to Present. (master's thesis). Faculty of Humanities and Social Sciences Thaksin University.

SodsongKrit, M. (2013). A Survey of Chinese Religious Places in SouthernProvinces in

theNortheast Region of Thailand. Faculty of Liberal Arts, Ubon Ratchathani

University journal, 1(2013), 117-147.

Suwanjinda, P. Lee L. (2016). The cultural adaptation of chinese-thai:case

study of Chinese-thai at chinatown area. National Conference 2016, 323-335.

Tanjarern, K. (2012). The meaning of the lyrics, and purchasing behavior of

Chinese-Thai at Yaowarat road. (master's thesis). Faculty of Management

Science Silpakorn University.