แนวโน้มระบบประชาธิปไตยในสังคมไทย

Main Article Content

มนูญ บุญนัด

บทคัดย่อ

จากสภาพปัญหาของรัฐไทยที่เผชิญอยู่ในช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ปี 2475 จากระบอบสมบูรณาญาณสิทธิราชย์เป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ที่นำพาให้รัฐไทยไปสู่ภาวะวิกฤตการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในด้านความมั่นคง และการพัฒนาประชาธิปไตย (Democratization) ที่นำพารัฐไทยไปสู่ระบอบประชาธิปไตยครึ่งใบ ซึ่งอยู่ในฐานะที่ได้รับการยอมรับว่า มีความเป็นสถาบันที่กำหนดเงื่อนไขและโครงสร้างที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ให้ตัวแสดงต่าง ๆ ได้แสดงบทบาทอย่างชัดเจนในสังคม ทั้งกลุ่มนักการเมือง ข้าราชการประจำ กลุ่มผลประโยชน์ กลุ่มนายทุน ได้เข้ามามีบทบาทอำนาจในการบริหารประเทศ ด้วยความความอ่อนแอของสถาบันทางการเมืองของรัฐไทย มาจากตัวนักการเมืองและความขัดแย้งทางการเมืองที่ทำให้อำนาจทางการเมืองยังคงยึดโยงอยู่กับกลุ่มทหาร หรือกลุ่มบุคคลใดบุคคลหนึ่งเท่านั้น ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา แนวโน้มระบอบประชาธิปไตยในสังคมไทยมักขึ้นอยู่กับการเมืองเปลี่ยนผ่านจากระบอบรัฐประหาร ล้มล้างรัฐธรรมนูญ เกิดการเลือกตั้ง นำไปสู่ระบอบประชาธิปไตย แต่ในรูปแบบครึ่งใบ วงแบบนี้ไปเรื่อย ๆ จนถึงปัจจุบันกว่า 20 ครั้งแล้ว จนถูกเรียกว่า “วงจรอุบาทว์” ซึ่งจะก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมลงเรื่อย ๆ ดังนั้น การพัฒนาประชาธิปไตยของรัฐไทยจึงจำเป็นอย่างมากที่ประชาชนจะต้องมีความรู้มากขึ้น มีการตรวจสอบอำนาจรัฐมากขึ้น มีความเป็นดิจิทัลมากขึ้น ใส่ใจในสิทธิเสรีภาพของตัวเองมากยิ่งขึ้น โดยอำนาจสูงสุดของประเทศต้องอยู่กับราษฎรทั้งหลาย หรือการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน หรือการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในฐานะเจ้าของอำนาจอธิปไตยตามรัฐธรรมนูญเพื่อให้เกิดความเสมอภาค ความสงบเรียบร้อย อยู่ดี กินดี ก่อให้เกิดความสุขได้อย่างยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Abhaphirom, A. (2019). Crisis of democracy. Matichon Weekend. issue May 31 – 6 June 2019.

Bamrungsuk, S. (1998). Soldiers and Thai Democracy: From 14 October to Present and Future.Bangkok. : Textbook Research and Production Center Krirk University.

Boonbongkan, S. (1999). Political development in Thailand: Interaction between the military and political institutions. Politics and political participation of the people. (4th edition). Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Boonmee, T. (1997). Democracy Examination. In the end of the nation-state to the Thanarchy rally. Pittaya Wongkul (Editor). Bangkok: Amarin Printing.

Burikul, T. (2021). King Prajadhipok's Institute organizes online seminars. Looking at the future of Thai politics for Sustainable democracy. Online. Retrieved on 12 November 2022 : from https://www.kpi.ac.th/news/gallery/data/1096.

Kasetsiri, C. (2006). History of Thai politics. (4th edition). Bangkok: Project Foundation. Social Sciences and Humanities Textbook.

Kasetsiri, C. (2021). What happened on "October 14" before it came to an important victory for the people who rebelled against it? “Organization”. Online. Retrieved 12 November 2022: from https://www.silpa-mag.com/history/article_40175.

Ketbunchu, K. (2017). Looking at the past, present and future of Thai politics through "The land is so dark". Online. Retrieved 12 November 2022. From: https://www.the101.world/thai-political-crisis-through-eyes-of-academics/.

Na Pomphet, W. (2009). Economic democracy. foundation of the road to democracySomboon. Bangkok: Wasira.

Office of the Secretary General of the House of Representatives. (2014). The development of politics and governance in the regime. Democracy, Public Relations Office of the Secretariat of the House of Representatives, Bangkok.

Prasertkun, S. (2009). People's Politics in Thai Democracy. Language Bangkok.

Robert J. Holton. (1998). Cited in Seksan Prasertkul. Thai democracy. Simple language. Bangkok.

Samutavanich, C. (2014). Problems of political development in Thailand. Bangkok: Chulalongkorn Publishing Houseuniversity.

Thamrongthanyawong, S. (2011). Thai Politics and Government: Dictatorship Era - Reform Era. (4th edition). Bangkok: Sema Thammasane, Jamrik.

Thiravekin, L. (2003). Evolution of Thai Politics and Government. (9th edition). Bangkok: Thammasat University Press.

Thongsawang, T. (2003). Politics and governance of Thailand. Bangkok: Publishing Center for Promotion. academic.

Uwanno, B. (2006). Problems in Thai politics in the proposed conceptual framework for political reform. Thailand. (2nd edition). Bangkok : Thai tips.

Wijitwatcharak, K. (2020). Thai Politics and Governance. Bangkok : J. Print 94