ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดความสมดุลของเหลาจื้อ
Main Article Content
บทคัดย่อ
เต๋าเป็นแนวคิดเต็มไปด้วยเชิงปรัชญาและมีความหมายหลายนัยยะ การศึกษาวิเคราะห์และตีความคำสอนของเหล่าจื้อนี้เองเป็นหนึ่งในเหตุผลว่าทำไมเต๋าจึงเป็นเนื้อหาที่น่าสนใจจากอดีตสู่ปัจจุบัน หัวข้อเรื่องความสมดุลเป็นคำสอนที่น่าสนใจอย่างมากในเต๋าเต๋อจิงของเหลาจื้อ การมีชีวิตกลมกลืนระหว่างเต๋าและธรรมชาติเป็นคำสอนของเหลาจื้อ เนื้อหาง่ายแต่ก็ยากที่จะเข้าใจตามความหมาย หลักการนี้เป็นแรงบันดาลใจให้เกิดการขับเคลื่อนมากมาย เพื่อให้เกิดความสันติภาพทางสังคม การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์วิธีการเนื้อหาความสมดุลในเต๋าเต๋อจิงกับธรรมชาติ ผู้วิจัยใช้สำนวนการแปลภาษาไทยของพจนา จันทรสันติ ในการนำมาศึกษาในครั้งนี้ วิธีการที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วยเอกสารหลักฐานและการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลของการศึกษาพบว่าเหลาจื้อไม่ได้สอนว่าจะต้องประยุกต์คำสอนของตัวเองในเรื่องของความสมดุลอย่างไร เหลาจื้อสอนเพียงแค่เต๋าเต๋อจิงเท่านั้น เต๋าเต๋อจิงเป็นเพียงแค่โศลกสั้นๆ มีเพียงแค่ 81 โศลก และ 5,000 ตัวอักษร การศึกษาครั้งนี้ มีข้อนำเสนอว่า การประยุกต์ใช้คำสอนของเหลาจื้อขึ้นอยู่กับการตีความของผู้ศึกษา เพราะแนวคำสอนของเหลาจื้อเป็นลักษณะเชิงวิเคราะห์และตีความ และคำสอนเอกของเหลา
จื้อเองก็ให้ความสำคัญในเรื่องของสมดุลระหว่างมนุษย์และธรรมชาติ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
Chantharasanti, P. (2001). Path of Daodejing of Laozi. (15th ed). Bangkok: KledThai Publishing.
Dokbua, F. (2006). All Chinese Philosophies. (3rd ed.). Bangkok: Siam Publisher.
Fann, K.T. (2020). Reading Dao De Jing in English. Singapore: Partridge publishing.
Kaltenmark, M. (1969). Lao Tzu and Taoism. California: Standford University Press.
Laozi. (2008). Tao Te Jing. translated by Ju Yanan. Boston: Harvard Square Publishing.
Legge, J. (1962). The Texts of Taoism, vol. 2, translated by James Legge. New York: N.Y.
Mahachulalongkornrajavidyalaya University. (1996). Thai Pitaka edition. Bangkok: Mahachula longkornrajavidyalaya Publishing.
Simpkins, A. (2013). The Tao of Bipolar. New Harbinger Publications, Inc.
Sorachai, S. (2015). Analasizing management by Dhamma according to Daoism. Political journal and laws, 7(1). 59-75.
Tang, Y. (2015). Confucianism, Buddhism Daoism Christainnity and Chinese Culture. New York: Springer Heidellberg.
Xing, L. (1998). Rhetoric in ancient China, fifth to third century, B.C.E: a comparison with classical Greek rhetoric. University of South Carolina Press.