แนวทางการคุ้มครองและจัดสวัสดิการแรงงานของพนักงานขนส่งเอกชน ในจังหวัดปัตตานี

Main Article Content

อทิตญา จันทร์แสง
วันพิชิต ศรีสุข

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ สร้างข้อเสนอในการคุ้มครองและจัดสวัสดิการแรงงานของพนักงานขนส่งเอกชนในจังหวัดปัตตานี เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่ม เกี่ยวกับการคุ้มครองและจัดสวัสดิการแรงงานของพนักงานขนส่งเอกชนในจังหวัดปัตตานี โดยมีกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 42 คน ซึ่งได้มาด้วยการเลือกโดยวิธีการแบบเจาะจง และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการพรรณณา ซึ่งสามารถวิเคราะห์และจำแนกผลของการศึกษาวิจัย ผลการวิจัย พบว่า พนักงานบริษัทขนส่งเอกชนจังหวัดชายแดนใต้ส่วนใหญ่มีความต้องการสวัสดิการที่เหมาะสม และสถานประกอบกิจการส่วนใหญ่จัดสวัสดิการแรงงานตามที่กฎหมายกำหนดให้เพียงบางรายการ เช่น สวัสดิการประกันสังคม และสวัสดิการทำงานล่วงเวลา เป็นต้น และมีข้อเสนอแนวทางการคุ้มครองและจัดสวัสดิการแรงงานของพนักงานขนส่งเอกชนในจังหวัดปัตตานี คือจัดสวัสดิการเหนือกฎหมายให้แก่พนักงาน เพื่อเป็นแรงจูงใจในการทำงานให้พนักงานปฏิบัติงานให้ตรงตามเป้าหมายของบริษัท เช่น การจัดโบนัสประจำเดือน เบี้ยขยันประจำเดือน รวมถึงการอำนวยความสะดวกให้แก่พนักงาน เพื่อเป็นแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Chaisri, S., Jansriboot, P. and Rattanawong, W. (2021). Factors affecting labor welfare needs in three southern border provinces. Rhuket Rajabhat University Academic Journal, 18(1), 119-137.

Dhiratanuttdiok, T. and Siriwong, P. (2020). The Components of Good Quality of Work Life from Thai Truck Drivers’ Perspective: A Study for Grounded Theory. Electronic Journal of Open and Distance Innovative Learning (e-JODIL), 10(2), 175-188.

Ministry of Digital Economy and Society. (2018). Problems of the Digital Technology Strategy for Public Administration. Bangkok: Ministry of Digital Economy and Society.

Pattani Provincial Labor Office. (2022). Report on the labor situation in the first quarter of 2022 (January - March 2022). Pattani: Strategy and Information Division.

Peaukdet, W., Vichaidit, P. and Jaiyen, S. (2015). The Cognition About the Relations Act B.E. 2518 (1975) of Thai Labors in Seafood Processing Industry Sector: A Case Study of SuratThani Province. SuratthaniRajabhat Journal, 2(1), 1-15.

Phonyiam, P. (2015). Knowledge Management Model on Benefits Service for Informal Sector of Social Security Office in Northeast Cluster 1. Journal Phranakhon Rajabhat University, 6(2), 223-234.

Songphon, N and Suttasart, A. (2019). The Quality-of-Life Development of Cargo Workers in Pathumthani Province. Journal of Suvarnabhumi Institute of Technology Academic. 5(2), 135-154.

Sukwattananukit, K. (2020). Incentives for labor welfare factors relating to Job characteristics in the workplace that has an influence on organizational commitment: a case study of Amata city industrial estate, Rayong province. Journal of Eastern University of Management and Technology, 17(1), 520-528.

Tanachodrungsatis, K. (2014). Efficiency and Effectiveness of Thai Rice Transportation Logistic: A Case Study Transportation Route from Nakornsawan Province to Foreign Countries. Suthiparithat, 28(88), 309-342.

Thosuwanchinda, W. (2018). Legle Criteria to Safeguard Labor Outside the System. Law and Local Society Jounal, 2(1), 125-149.