แนวทางการบริหารงานความสัมพันธ์กับชุมชนแบบมีส่วนร่วม ของโรงเรียนบ้านหนองสูน อำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การเสริมพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อพัฒนาการบริหารงานของสถานศึกษา โดยได้ดำเนินการวิเคราะห์และสังเคราะห์เอกสาร การเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหาร ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบและแนวทางการบริหารแบบเสริมพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา 3 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบระดับบุคคล องค์ประกอบระดับทีมงาน และองค์ประกอบระดับองค์กร โดยมีเงื่อนไขการเสริมพลังอำนาจของผู้บริหาร 6 ประการ 1) คุณลักษณะ 2) ทักษะ 3) สัญญาแห่งความสำเร็จ 4) การนิเทศตนเอง 5) โครงสร้างและระบบที่ช่วยเหลือเกื้อกูล 6) ภาระหน้าที่การประเมินตนเอง และดำเนินการตามกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจ 5 ขั้นตอน 1) การกำหนดผลลัพธ์ที่ต้องการ 2) การกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 3) การระบุทรัพยากร 4) การกำหนดภาระหน้าที่ 5) การกำหนดผลที่ตามมา โดยการเสริมพลังอำนาจของผู้บริหารต้องดำเนินการตามแนวทางต่างๆ ได้แก่ การพัฒนาทักษะวิชาการการพัฒนาทักษะผู้นำ การสร้างเครือข่ายที่แข็งแกร่ง การสร้างทีมงานที่เข้มแข็ง มีการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่สร้างสรรค์และสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตามและประเมินผลการเสริมสร้าง การสนับสนุนการอำนวยความสะดวก การให้คำปรึกษา การเป็นพี่เลี้ยง การให้ความร่วมมือ ซึ่งเมื่อดำเนินการตามที่กล่าวมาแล้ว การเสริมสร้างพลังอำนาจจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในระดับบุคคล ระดับทีมงาน และระดับองค์กร ซึ่งผู้ที่จะได้รับการเสริมพลังอำนาจโดยตรงคือ ครูและบุคลากร และเมื่อครูและบุคลากรเกิดการพัฒนาให้สามารถทำงานอย่างเต็มศักยภาพก็จะส่งผลให้นักเรียนได้รับการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพตามไปด้วย
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
Atthanat, A. (2015). A study of participation in the administration of relationships between schools and Community of the Basic Educational Institutions Committee under the Phra Nakhon Si Ayutthaya Primary Educational Service Area Office, Area 1. (Master's Thesis). Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University. Ayutthaya.
Chaophopra, N. (2017). Community relations management according to the perception of students' parents
Phanthongsaphachanupatham School Chonburi Province. (Master's Thesis). Burapha University. Chonburi.
Chusaeng, W. (2014). Operations to build relationships between schools and communities of schools under the Ratburana District Office, Bangkok. (Master's Thesis). Thonburi Rajabhat University. Bangkok.
Daraphan, N. (2017). Administrative factors and learning organizations that affect Effectiveness of schools under the Mukdahan Primary Educational Service Area Office. (Master's Thesis). Sakon Nakhon Rajabhat University. Sakon Nakhon.
Kanhan, W. (2016). Development of community relations with Ban Lao Mi School under Mukdahan Primary Educational Service Area Office. (Master's Thesis). Sakon Nakhon Rajabhat University. Sakon Nakhon.
Khemthit, R. (2016). Building relationships between schools and the community of the municipal school Laem Chabang 3, Si Racha District, Chonburi Province. (Master's Thesis). Burapha University. Chonburi.
Ministry of Education. (2010). National Education Act, B.E. 2010 (No. 3). Bangkok: Siam Sport Syndicate Company Limited.
Mongkolsap, S. (2016). Problems and guidelines for developing the relationship between School and community of Ban Hub Bon School Under the jurisdiction of the Chonburi Primary Educational Service Area Office, Area 3. (Master's Thesis). Burapha University. Chonburi.
Ontam, N. (2019). PDCA management technique (Deming Cycle). Journal of the Development Association Educational Administration Profession of Thailand, 1(3), 39-46.
Phumo, K. (2019). Administrative model to promote relationships between schools and communities. Under the jurisdiction of the Secondary Educational Service Area Office, Area 6. (Doctoral Dissertation). North Bangkok University. Bangkok.
Suksomkasem, R. (2016). Factors affecting the promotion of community strength Case study of communities in the area Pak Kret Municipality Nonthaburi Province. (Master's Thesis). Thammasat University. Pathum Thani.