แนวทางการใช้สื่อสังคมในการบริหารสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 จังหวัดนนทบุรี

ผู้แต่ง

  • วีรวิทย์ องค์เจริญวรรณ สาขาวิชาภาวะผู้นําการบริหารและการจัดการการศึกษา สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

คำสำคัญ:

สื่อสังคม, บริหารสถานศึกษา, มัธยมศึกษา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพ ปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการใช้สื่อสังคมในการ บริหารสถานศึกษา 2) วิเคราะห์ความต้องการจําเป็นการใช้ สื่อสังคมในการบริหารสถานศึกษา และ 3) ศึกษาแนวทาง การใช้สื่อสังคมในการบริหารสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มตอบแบบสอบถาม ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น จํานวน 325 คน และกลุ่มสําหรับสัมภาษณ์ได้มาจากการเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง จํานวน 8 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีเรียงลําดับความต้องการจําเป็นแบบปรับปรุง และการวิเคราะห์เนื้อหา

ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพปัจจุบันอยู่ในระดับ ปานกลางมีค่าเฉลี่ย 2.95 และสภาพที่พึงประสงค์อยู่ใน ระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.98 2) ความต้องการจําเป็น ลําดับแรก คือ ด้านการบริหารงบประมาณ 3) แนวทาง การใช้สื่อสังคม แบ่งเป็นประเด็น ดังนี้ 1) สนับสนุนให้ บุคลากรใช้สื่อสังคมในการปฏิบัติงานมากขึ้น 2) ปรับใช้สื่อ สังคมในการวางแผนการบริหารงานให้เหมาะกับบริบทของ สถานศึกษา 3) สนับสนุนการใช้สื่อสังคมในการจัดการเรียน การสอน 4) สนับสนุนการใช้สื่อสังคมในการบริหาร งบประมาณด้วยความรอบคอบ 5) หาสื่อสังคมที่เหมาะสม เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการติดต่อสื่อสาร และ 6) หาช่องทางดีที่สุดในการใช้สื่อสังคมเพื่อติดต่อสื่อสารกับ บุคคลหรือหน่วยงานนอกสถานศึกษา

References

Anderson, S. (2012). How to Create Social Media Guidelines for Your School. Edutopia.

Bayram, A. (2017). A Qualitative Study on the Contribution of Educational Administrators’ Use of Social Media to Educational Administration.(Thesis of Education Studies, Artvin Çoruh University)

Cox, D. D. (2012). School communications 2.0: A social media strategy for K-12 principals and superintendents. Thesis for the degree of Doctor of Philosophy, Iowa State University.

Diskul, P. (2017). Deputy Education Minister Panadda gave policy to drive education policy in Nonthaburi. Retrieved from: www.thaigov.go.th/news/contents/ details/7538. [in Thai]

Infographic. (2013). Explore the Influence of "Social Media" in the World changing. Retrieved from: http://thumbsup.in.th/2013/08/socialmedia-is-changing-the-world/. [in Thai]

Khrueasri, E. (2015). Using Information Technology for Administration of School Administrators Under the Secondary Educational Service Area Office 32. Master Thesis of Education, Buriram Rajabhat University. [in Thai]

Lovecchio, M. J. (2013). The Principal’s Experience through the Process of Implementing Social Media in Schools. Thesis for the degree of Doctor of Education, College of Professional Studies Northeastern University.

Lui, Y. (2010). Social media tools as a learning resource. Thesis of Educational Technology Development and Exchange, University of Houston.

Ministry of Education. (2008). National Education Act, 1999And amendments (No. 2) BE 2002. Bangkok: Shipping Agency (ECD). [in Thai]

Nonthaphet, T. (2016).The Information Technology Usage for Administration of Academic Institutions under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 3. Master Thesis of Education, Nakhon Si ThammaratRajabhat University. [in Thai]

Office of the Royal Society.(2013). Definition of Social Media. Retrieved from: http://www.royin.go.th/?knowledges. [in Thai]

Polpasee, K. (2011). Guidelines of Using Social Media (Facebook) for teaching. Dusit Thani Colledge. [in Thai]

Wannaphapha, T. (2016).Social Media with Education. Master Thesis of Education, Burapha University. [in Thai]

We Are Social. (2017). Internet usage and social media in Thailand. Retrieved November 2,2017:http://my-thai.org/digital-southeast-asia-thailand-2017-overview/ [in Thai]

Williamson, R. & Johnston, J. H. (2012).School Leader’s Guide to Social Media. Larchmont, NY: Eye on Education.

Zakarian, S. (2013). Education and Social Media: an Examination of Facebook, Twitter and Youtube in K-12 Education. Thesis for the degree of Master of Arts in Mass Communication and Journalism, California State University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-04-2019