ชุมปีเตอร์: บิดาแห่งนวัตกรรมและความเป็นผู้ประกอบการ
คำสำคัญ:
ชุมปีเตอร์, นวัตกรรม, ความเป็นผู้ประกอบการ, การทำลายอย่างสร้างสรรค์บทคัดย่อ
โจเซฟ ชุมปีเตอร์ นักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียงระดับโลกนับตั้งแต่ช่วงกลางศตวรรษที่ 20 สืบเนื่องจนถึงปัจจุบัน เป็นบุคคลที่มีอิทธิพลทางความคิดต่อบุคคลสำคัญหลายคน หนึ่งในนั้นคือศาสตราจารย์พอล แซมวลสัน ซึ่งเป็นชาวอเมริกันคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ และอีกคนหนึ่งคือศาสตราจารย์ปีเตอร์ ดรักเกอร์ กูรูด้านการจัดการที่มีชื่อเสียงระดับโลก ผลงานที่โดดเด่นของชุมปีเตอร์คือการอธิบายแนวคิดเกี่ยวกับวัฏจักรธุรกิจ เศรษฐกิจเชิงจริยธรรม การพัฒนาเศรษฐกิจ นวัตกรรมและความเป็นผู้ประกอบการ ซึ่งจากชื่อเสียงและผลงานที่โดดเด่นทำให้ชุมปีเตอร์ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งนวัตกรรมและความเป็นผู้ประกอบการ อย่างไรก็ตาม ชีวิตของผู้ยิ่งใหญ่นั้นไม่มีใครสมบูรณ์แบบ ต่างมีช่วงเวลาที่ยากลำบาก มีช่วงเวลาแห่งความรัก การถูกเกลียดชัง ความสำเร็จ และมีช่วงเวลาในการกล่าวข้อความที่เป็นแรงบันดาลใจสำหรับคนรุ่นหลัง ด้วยเหตุนี้ การศึกษาประวัติชีวิต ประสบการณ์การทำงานและแนวคิดที่สำคัญของชุมปีเตอร์จึงเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ได้เรียนรู้และนำความรู้ไปปรับใช้ในการทำงานรวมถึงการนำไปใช้เพื่อพัฒนาตนเองสู่ความสำเร็จที่คาดหวัง
References
Acton, L. (1887). Letter to Archbishop Mandell Creighton. Retrieved from https://history.hanover.edu.
Christensen, C. M. (1997). The innovator’s dilemma: When new technologies cause great firms to fail. Boston, MA: Harvard Business Review Press.
Crainer, S. (2018). Peter Drucker: From Vienna to Qingdao. Retrieved from https://thinkers50.com.
Drucker, P., & Nakauchi, I. (1997). Drucker on Asia: A Dialogue Between Peter Drucker and Isao Nakauchi. London: Routledge.
Edersheim, E. (2019). What Do You Want to be Remembered for? Retrieved from www.processexcellencenetwork.com.
Fulton, G. (2018). The Robot Workforce: AI in 2018. Retrieved from http://blog.prototypr.io.
Gordon, D. (2017). Is Paul Samuelson the Einstein of Economics? Retrieved from http://economicpolicyjournal.com.
Horowitz, I., and Allen, R. L. (2017). Opening Doors: Life and Work of Joseph Schumpeter. London: Routledge.
KOF Swiss Economic Institute. (2018). Schumpeter Got It Right. Retrieved from https://kof.ethz.ch.
McCraw, T. K. (2007). Prophet of Innovation: Joseph Schumpeter and Creative Destruction. Cambridge: Harvard University Press.
Papanek, G. F. (1962). The Development of Entrepreneurship. American Economic Review, 52(2), 45-58.
Samuelson, P. A. (2003). Reflections on the Schumpeter I knew well. Journal of Evolutionary Economics, 13(5), 463-467.
Schumpeter, J. A. (1939). Business Cycles: A Theoretical, Historical, and Statistical Analysis of the Capitalist Process. New York and London: McGraw Hill.
Schumpeter, J. A. (1942). Capitalism, Socialism and Democracy. New York: Harper & Row.
Shane, S. (2018). Kondratiev Wave. Retrieved from https://cmtassociation.org.
Simmie, J. (2014). Regional Economic Resilience: A Schumpeterian Perspective. Spatial Research and Planning, 72(2), 103-116.
Sweezy, P. M. (1943). Professor Schumpeter's Theory of Innovation. The Review of Economics and Statistics, 25(1), 93-96.
The Moonshot Factory. (2019). Transforming mobility with self-driving cars. Retrieved from http://x.company.
Whitaker, J. K. (1971). The Schumpeterian Stationary State Revisited. The Review of Economics and Statistics, 53(4), 389-391.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์ (Kasetsart Educational Review)