การประเมินการนำนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ไปสู่การปฏิบัติ ของโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒

ผู้แต่ง

  • อุไรวรรณ พูมขุนทด คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถานบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

คำสำคัญ:

การประเมิน“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ไปสู่การปฏิบัติ

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

                 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการนำนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนบดินทรเดชา        (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ ใน 4 ด้าน ดังนี้ 1.ด้านบริบท (Context) 2.ด้านปัจจัยเบื้องต้น (Input) 3.ด้านกระบวนการ (Process) 4.ด้านผลผลิต (Product) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหาร ครู นักเรียน และผู้ปกครองของโรงเรียน บดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ จังหวัดกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 จำนวน 351 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ        จำนวน 4 ฉบับ มีค่าความเชื่อมั่น 0.94 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

            ผลการวิจัยการประเมินการนำนโยบาย“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”ไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)๒ ใน 4  ด้าน พบว่า ด้านบริบท (ค่าเฉลี่ย 3.95 , ค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐาน 1.03) ผ่านเกณฑ์ในระดับดี  ด้านปัจจัยเบื้องต้น (ค่าเฉลี่ย 3.91 , ค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐาน 1.02)   ผ่านเกณฑ์ในระดับดี ด้านกระบวนการ  (ค่าเฉลี่ย 4.02 , ค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐาน 1.01) ผ่านเกณฑ์ในระดับดีมาก             ด้านผลผลิต (ค่าเฉลี่ย 3.98 , ค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐาน 0.99)  ผ่านเกณฑ์ในระดับดี และ ได้รับการประเมินในภาพรวม ผ่านเกณฑ์ในระดับดี  (ค่าเฉลี่ย 3.99 , ค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐาน 1.01) 

References

Bureau of Academic Affairs and Educational Standards Office of the Basic Educatio Commission,Ministry of Education.Basic Dducation Core Curriculum B.E.2551 (A.D.2008) (2551:23). [in Thai]
Bureau of Academic Affairs and Educational Standards Office of the Basic Educatio Commission,Ministry of Education.2015.Manual Time management “Moderate Class, More Knowledge” [in Thai]
Khumklam,P. and team.(2016).School administrator skills in administration as perceived by teachers in Samkok district under the Pathumthani primary educational service area office 1. Burapha University. [in Thai]
Nilsantia,C.(2011). Assessment of the welfare development project and desirable values of Pak Chong 2 students. [in Thai]
Office of the National Education Commission.(2002).National Education Act B.E.2542 (1999) and Amendments (Second National Education Act .B.E. 2545 (2002) Bangkok. [in Thai]
Office of the Education Council.(2017). Education in Thailand 2015/2016. (1sted). Bangkok: Office of the Education Council Ministar of Education. [in Thai]
Saengsakhu,S.(2009).Characteristics of professional school administrators As per the management's point of view And teachers in basic education institutions Under the Roi Et Educational Service Area Office 2. Master of Education Thesis Educational Administration Program Surin Rajabhat University. [in Thai]
Sisan,B.(2017).Advanced research methods and statistics for educational administration.Bangkok.: Min Service Supply. [in Thai]
Sriplang,S.(2015). Project management "to reduce study time Increase the time to know "of the pilot school. Under the Office of Phetchaburi Educational Service Area Primary 1.[in Thai]
Suwasophi,N.(2017).The satisfaction of the teachers with the activities, reduce learning time, increase knowledge time Bodindecha (Sing Singhaseni) School 2, under the Office of Secondary Educational Service Area 2, Ramkhamhaeng University. [in Thai]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-10-15