การศึกษาการคิดเชิงความน่าจะเป็นและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในชั้นเรียนคณิตศาสตร์ที่ใช้การจัดการเรียนรู้ที่เน้นปัญหาเป็นฐาน
คำสำคัญ:
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นปัญหาเป็นฐานการคิดเชิงความน่าจะเป็นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการคิดเชิงความน่าจะเป็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในชั้นเรียนที่ใช้
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นปัญหาเป็นฐาน กลุ่มเป้าหมายนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสารภีพิทยาคม จำนวน 33 คน (1 ห้องเรียน) เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นปัญหาเป็นฐาน จำนวน 8 แผน 2) ผลงานเดี่ยวและผลงานกลุ่มของนักเรียน 3) แบบสะท้อนคิดนักเรียน 4) แบบบันทึกหลังการสอน 5) แบบวัดการคิดเชิงความน่าจะเป็นและ 6) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยสรุปว่านักเรียนมีการคิดเชิงความน่าจะเป็นอยู่ในระดับดีถึงดีมากตามกรอบแนวคิดการคิดเชิงความน่าจะเป็นของ Jones (1997) นอกจากนี้ผลการวัดผลสัมฤทธิ์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน เรื่องความน่าจะเป็น พบว่ามีนักเรียนจำนวน 25 คน (คิดเป็น 75.75%) ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินของโรงเรียนที่ร้อยละ 60
References
Khammanee, T. (2014). Science of Teaching Pedagogy: Knowledge for Effective Learning Orgaization. Bangkok: The Chulalongkorn University Press. [in Thai]
Ministry of Education. (2560). Basic Education Curriculum 2008 (Revised Edition 2017). Bangkok: Kurusapa Printing Ladphrao. [in Thai]
Nation Institute of Education Testing Service (Public Organization). (2018). O-NET Results. from http://www.newonetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/Login.aspx
Othman, H., Salleh, B. M., & Sulaiman, A. (2013). 5 ladder of Active Learning: An Innovative Learning Steps in PBL Process. The 4th International Research Symposium on Problem-Based Learning (IRSPBL). Malaysia. 245-253.
Panich, W. (2012). Learning Methods for Students in the 21st Century. Bangkok: Saritwong Women Foundation. [in Thai]
Shaughnessy JM, Bergman B. (1993). Thinking about Uncertainty: Probability and Statistics. In Wilson, P.S.(Ed.). Research Ideas for the Classroom: High School Mathematics.
The United State of America: National Council of Teachers of Mathematics; 1993. p.177-197
Srisaard, B. (2000). Research in measurement and evaluation. Bangkok: Suveeriyasas Publishing. [in Thai]
Thongdrajang, N. (2013). The Developmant of Mathematical Connection skills in probability using Problem-Based Learning activities for Mathayomsuksa 3. Sripatum Chonburi Journal, 13(2), 163-172. [in Thai]
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์ (Kasetsart Educational Review)