การสร้างหลักสูตรสถานศึกษารายวิชาสาระเพิ่มเติมในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย อําเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
คำสำคัญ:
หลักสูตรสถานศึกษา, รายวิชาสาระเพิ่มเติม, กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อรายวิชาสาระเพิ่มเติมในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ของโรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย อําเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ 2) สร้างหลักสูตรสถานศึกษาในรายวิชาสาระเพิ่มเติมในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนศรีสะเกษ
วิทยาลัย อําเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ และ 3) ตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษาในรายวิชาสาระเพิ่มเติมในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนศรีสะเกษ
วิทยาลัย อําเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2 และ 3 จํานวน 333 คน และผู้ปกครองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2 และ 3 จํานวน 333 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิตามสัดส่วนประชากร ประกอบด้วย ครูในกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีจํานวน 28 คน และคณะกรรมการสถานศึกษา จํานวน 14 คน ของโรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย อําเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ และผู้ทรงคุณวุฒิจํานวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต้องการรายวิชาสาระเพิ่มเติมในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีคือ รายวิชาจักสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก ผลการสร้างและตรวจสอบความเหมาะสมของหลักสูตร สถานศึกษาในรายวิชาสาระเพิ่มเติม ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีในรายวิชางานจักสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ของโรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัยอําเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษในภาพรวมมีความเหมาะสมมากที่สุดทุกข้อยกเว้น ความเหมาะสมของสื่อ/แหล่งการเรียนรู้มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก
References
Best, J. W. & Kahn, J. V. (2005). Research in Education. 10thed. Boston: Pearson Education Company.
Chairungrojpanya, P. (2008). The Curriculum Development on Basic Computer Repair for the Heaving Disable Student, Sot Suksa Anusarasuntorn Chiangmai Province. Master Degree thesis of Education in Curriculum and Instruction Chiangmai University. [in Thai]
Chaithima, N. (2010). The Development of Training on Basketwork, Pah Bong Village, Pah Bong Sub – district Sarapi District Chaingmai Province. Master Degree thesis of Education in Vocational Education. Chiangmai University. [in Thai]
Cronbach, L.J. (1990). Essentials of Psychology Testing. 5th ed. New York: Harper and Row.
Khinghom, N.(2008). The Development of Local StrandCurriculum on Childhood Education Ban Pak – Pard School, Nam – Pard District, Utaradit Province. Master Degree thesis of Education in Curriculum and Instruction Utaradit RaJabhat University.
Krejcie, R. V. and Morgan, D.W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.
Thai identity. (2012). Matichon. Bangkok. 23rd May, 2012. Page 1. [in Thai]
Ministry of Education.(2008). National Education Act B.E. 2551. Bangkok: Teacher Council Press Ladprao. [in Thai]
Nongkhu School. (2009). School Curriculum of Ban Nongkhu (Sophonprachanukul) B.E. 2552. According to The Basic Education Cere Curriculum B.E.2551 (A.d.2008). Ubon Ratchathani: Ubon Ratchathani Primary Educational Office Area 4. [in Thai]
Payne, D.A. (2003). Applied Educational Assessment. 2nded. Canada: Nelson Thomson. [in Thai]
Phanijram, P.(2012). The Development of Local Curriculum on Local Cloth Product Desing of Occupation and Technology Department for M.4 Nonghuakhu Puangprachanukhrao Udonthani Province. Master Degree thesis of Education in Educational Research, Mahasarakham University. [in Thai]
Rattanaphan, S. (2009). The Development of Local Curriculum Occupation and Technology Department on Organic Asparagus Planting for M. 3. Master Degree thesis in Curriculum and Instruction, Mahasarakham University. [in Thai]
The government gazette. (2010). Educational Management Guidelines. 116 7-9. [in Thai]
Turner, R. C. &L. Carlson. (2003). Indexes of item-objective congruence for multiple dimension items. International Journal of Testing, 3(2), 163-171.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์ (Kasetsart Educational Review)