ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชลบุรีตามแนวคิดการเรียนรู้อย่างทั่วถึง
คำสำคัญ:
การพัฒนาครู, การเรียนรู้อย่างทั่วถึง, ความต้องการจำเป็น, โรงเรียนมัธยมศึกษาบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชลบุรีตามแนวคิดการเรียนรู้อย่างทั่วถึง 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นของการพัฒนาครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชลบุรีตามแนวคิดการเรียนรู้อย่างทั่วถึง ประชากร คือ โรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชลบุรี ผู้ให้ข้อมูล คือ ครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชลบุรี จำนวน 236 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชลบุรีตามแนวคิดการเรียนรู้อย่างทั่วถึง มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีลำดับความต้องการจำเป็น ผลการวิจัย พบว่า สภาพปัจจุบันของการพัฒนาครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชลบุรีตามแนวคิดการเรียนรู้อย่างทั่วถึง โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชลบุรีตามแนวคิดการเรียนรู้อย่างทั่วถึง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นเจ้าของการเรียนรู้มีลำดับดัชนีความต้องการจำเป็นสูงสุด รองลงมาคือการออกแบบหลักสูตรสำหรับผู้เรียนรายบุคคล และการประเมินผลการเรียนรู้ที่หลากหลาย
References
Baldiris, N., Panagiotis, Z., Ramon Fabregat, G., & Demetrios, G. S. (2016). Developing teachers' competences for designing inclusive learning experiences. Journal of Educational Technology & Society, 19(1), 17-27. https://www-jstor-org.chula.idm.oclc.org/stable/jeductechsoci.19.1.17
Chaemchoy, S. (2022). Academic management responsive to change in the disruptive era. Chulalongkorn University Printing Press. [in Thai]
Hockings, C., Brett, P., & Terentjevs, M. (2012). Making a difference—inclusive learning and teaching in higher education through open educational resources. Distance Education, 33(2), 237-252. https://doi.org/10.1080/01587919.2012.692066
Kanjanawasee, S. (2013). Traditional test theory (7th ed.). Chulalongkorn University Printing House. [in Thai]
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and psychological measurement, 30(3), 607-610.
Loreman T., Deppler J. & Harvey D. (2016). Inclusive education Supporting diversity in the classroom (2nd edition). Routledge.
Office of the Education Council. (2021). Policy design for transforming Learning systems responsive to future global changes in 2040. Office of the Education Council.
Sanger C. (2020). Diversity & inclusion in curriculum and classroom. Center for Teaching & Learning.
Siribanpitak, P. (2020). Designing schools and new learning through the COVID-19. Educational Management and Innovation journal. 3(2). 1-2. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/emi/article/view/243061/164868. [in Thai]
The Secondary Educational Service Area Office Chonburi Rayong. (2022). Action Plan 2022-2024: The Secondary Educational Service Area Office Chonburi Rayong. [in Thai]
https://doi.org/https://doi.org/10.1016/B978-0-08-100213-1.00009-3
Thomas, L. (2016). Chapter 9 - Developing Inclusive Learning to Improve the Engagement, Belonging, Retention, and Success of Students from Diverse Groups. In M. Shah, A. Bennett, & E. Southgate (Eds.), Widening Higher Education Participation (135-159).
Chandos Publishing. https://doi.org/https://doi.org/10.1016/B978-0-08-100213-1.00009-3
Wongwanich, S. (2019). Needs Assessment Research (4th ed.). Chulalongkorn University Printing Press. [in Thai]
World Economic Forum. (2020). Schools of the future : defining new models of education for the fourth industrial revolution. https://www3.weforum.org/docs/ WEF_Schools_of_the_Future_Report_2019.pdf
Yale Center for Teaching and Learning. (n.d.) Inclusive teaching strategies. https://poorvucenter.yale.edu/InclusiveTeachingStrategies
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์ (Kasetsart Educational Review)