การออกแบบและพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การออกแบบกราฟิกคอมพิวเตอร์ทางการแพทย์ สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Main Article Content

ธนพนธ์ กาบไกรแก้ว
สุมาลี ชัยเจริญ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อออกแบบและพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การออกแบบกราฟิกคอมพิวเตอร์ทางการแพทย์ สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีการศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ที่เรียนวิชาการออกแบบกราฟิกคอมพิวเตอร์ทางการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 30 คน และผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 ท่าน ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงพัฒนา (Developmental research) รูปแบบที่ 1 ซึ่งประกอบด้วย 3 กระบวนการ คือ 1) กระบวนการออกแบบ และ 2) กระบวนการพัฒนา และ 3) กระบวนการประเมิน ผลการวิจัยพบว่า การออกแบบและพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบที่สำคัญ ดังนี้ 1) สถานการณ์ปัญหาและภารกิจการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ 2) แหล่งการเรียนรู้ 3) เครื่องมือทางปัญญา 4) ศูนย์ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ 5) การร่วมมือกันแก้ปัญหา 6) ฐานการช่วยเหลือ 7) การโค้ช และพบว่า ผลการประเมินประสิทธิภาพในกระบวนการประเมิน (Evaluation process) พบว่า มีความเหมาะสมทั้ง 5 ด้าน 1) การประเมินผลผลิต 2) การประเมินบริบทการใช้ 3) การประเมินด้านความคิดเห็นของผู้เรียน 4) การประเมินด้านความสามารถทางปัญญาของ และ 5) การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน และพบว่า ผลการประเมินประสิทธิภาพมีคุณภาพที่เหมาะสมทั้ง 5 ด้าน

Article Details

How to Cite
กาบไกรแก้ว ธ., & ชัยเจริญ ส. (2020). การออกแบบและพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การออกแบบกราฟิกคอมพิวเตอร์ทางการแพทย์ สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. Journal of Information and Learning, 31(2), 10–18. https://doi.org/10.14456/jil.2020.2
บท
บทความวิจัย

References

Brown, J. S., Collins, A., & Duguid, P. (1989). Situated cognition and the culture of Learning. Educational Researcher, 18(1), 32-42.

Chaijaroen, S. (2014). Kānʻō̜kbǣp kānsō̜n: Lakkān thritsadī sū kān patibat [Instructional design: principles and theories to practices]. Khon Kaen: Annaoffset.

Deelers, S. (2014). Creative thinking development process in the creative higher education institute. Veridian E-Journal,Slipakorn University (Humanities, Social Sciences and Arts), 8(2), 1341-1360.

Eargarnna, K., & Suwannoi, P. (2010) The development of constructivism learning environment model to promote creative thinking. Journal of Education Khon Kaen University, 34(1-2), 114-123.

Florida, R., Mellander, C., & King, K. (2015). The global creativity index 2015. Retrieved from http://martinprosperity.org/content/the-globalcreativity-index-2015/

Guilford, J. P. (1967). The nature of human Intelligence. New York, NY: McGraw-Hill.

Hannafin, M. J., Land, S., & Oliver, K. (1999). Open learning environments: Foundations, methods, and models. In Charles M.Reigeluth (Ed.), Instructionaldesign theories and models: A new paradigm of instructional theory (pp. 115-1140). London: Lawrence Erlbaum Associates.

Kwangmuang, P. (2018). The resul to flearner’s critical thinking development used with constructivist learning innovation to enhance knowledge construction and critical thinking for undergraduate student. Panyapiwat Journal, 10(1), 175-184.

Office of the National Economic and Social Development Board. (2017). The national economic and social development plan the twelfth plan (2017-2021). Retrieved from https://www.nesdc.go.th/ewt_news.php?nid=6420&filename=develop_issue

Papattha, C., & Jeerungsuwan, N. (2014). Model of learning environment for creative education on social network to develop creative thinking. Technical Education Journal King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, 5(1), 25-34.

Piaget. J. (1965). Moral development and moral Education. Retrieved from http://www.tigger.vic.deul~lnucci/MoralEd/overview.html

Richey, R. C., Klein, J. D., & Nelson, W. A. (2004). Developmental research: Studies of Instructional design and development. Handbook of research for Educational communications and technology, 2, 1099-1130.

Samat, C. (2009). Design of scaffolding for promote creative thinking. Journal of Education Khon Kaen University, 33(4), 1-9.

Samat, C., & Chaijaroen, S. (2009). Design and development of constructivist Web-Based Learning Environment Model to enhance creative thinking for higher education students. The 2009 Academic Conference on Education (pp. 24-25). Khon Kaen: Education Technology, Khon Kaen University.

Seeya, J. & Chaijaroen, S. (2015). The study of creativity and achievement of students learners who learn from Web-Based Open Learning Environments (WOLEs) to enhance creative thinking high school students. The 6th Hatyai National Conference (pp. 628-638). Hatyai, Thailand: Hatyai University.

Sinlan, S., Chaijaroen, S., & Samat, C. (2015). the effect of constructivist web-based learning environment to enhance creative thinking for Mathayomsuksa 3. Journal of Education Graduate Studies Research, 9(4), 220-227.

Siphai, S. & Sinlarat, P. (2019). Thailand’s educational transformation towards Education 4.0. Journal of Educational Measurement Mahasarakham University, 24(2), 13-27.

Vygotsky, L. S. (1978). Mind in society: The development of higher psychological processes. Cambridge: Harvard university press.