รูปแบบนวัตกรรมการจัดการศึกษาแบบบูรณาการสำหรับโรงเรียนเทศบาล สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

Main Article Content

ศุภราภรณ์ ปางนิติคณากร
วสันต์ อติศัพท์
ชิดชนก เชิงเชาว์
โอภาส เกาไศยาภรณ์

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนารูปแบบนวัตกรรมการจัดการศึกษาแบบบูรณาการสำหรับโรงเรียนเทศบาล สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ใช้กระบวนการวิจัยแบบผสมผสานวิธีระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ มี 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การเตรียมข้อมูลระยะที่ 2 การเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล ระยะที่ 3 การประชุมสนทนากลุ่ม และระยะที่ 4 การพัฒนารูปแบบ เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบข้อคำถามปลายเปิด และแบบประเมินรูปแบบ รวบรวมข้อมูลจาก 3 กลุ่ม ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ประเมินรูปแบบ


ผลการวิจัยพบว่า
1. แนวปฏิบัติที่ดีในการบริหารจัดการศึกษาแบบบูรณาการสำหรับโรงเรียนเทศบาลสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ประกอบด้วย 5 ด้านหลัก 14 ด้านย่อย
2. องค์ประกอบนวัตกรรมการจัดการศึกษาแบบบูรณาการสำหรับโรงเรียนเทศบาล สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ
3. รูปแบบนวัตกรรมการจัดการศึกษาแบบบูรณาการสำหรับโรงเรียนเทศบาลสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เรียกว่า รูปแบบบริหารจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพของโรงเรียนที่เป็นเลิศ (Model of Education Quality Management Excellent School: EQMES)

Article Details

How to Cite
ปางนิติคณากร ศ., อติศัพท์ ว., เชิงเชาว์ ช., & เกาไศยาภรณ์ โ. (2020). รูปแบบนวัตกรรมการจัดการศึกษาแบบบูรณาการสำหรับโรงเรียนเทศบาล สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. Journal of Information and Learning [JIL], 31(2), 28–36. https://doi.org/10.14456/jil.2020.4
บท
บทความวิจัย

References

Bass, B. M., & Riggio, R. E. (2006). Transformational leadership. Mahwah, NJ: Erlbaum.

Boonyapo, S., & Intarak, P. (2014). The administration model for excellence basic educational school under the Primary Educational Service Area Office. Silpakorn Educational Research Journal, 6(2), 80-95.

Chulewan, U., & Kerdtip, C. (2017). Components of secondary school management for world-class standard school. Academic Services Journal, Prince of Songkla University, 28(3), 36-47.

Department of Local Administration. (2017, March 5). Yutthasāt krom songsoē m kān pokkhrō̜ng thō̜ngthin Phō̜.Sō̜. 2560-2569 [Strategic Plan, Department of Promotion Local Administration 2017-2026]. Retrieved from http://www.dla.go.th/visit/stategics.pdf

Ismail, S. (2014). Total Quality Management (TQM) practices and school climate amongst high, average and low performance secondary schools. Malaysian Journal of Learning and Instruction, Universiti Utara Malaysia, 11, 41-58.

Komut, W. (2016).O-NET scores reflect local education quality. Journal of Liberal Arts, Ubon Ratchathani University, 12(20), 1-38.

The National Institute of Educational Testing Service (Public Organization). (2018). Sarup phon khanǣn O-NET 2560 [Summary results of O-NET 2017.]. Retrieved from http://www.newonetresult.niets.or.th/IndividualWeb/Notice/FrEnquireStudentGraphScore.aspx

Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization). (2017, April 2). Rāingān kān sangkhro̜ phonkān pramoē n khunnaphāp phāinō̜k rō̜p sām 2554-2558 [Third round of external quality evaluation report synthesis 2011-2015]. Retrieved from http://aqa.onesqa.or.th/SummaryReport.aspx

PISA Thailand. (2018). Phonkān pramoē n PISA 2015 witthayāsāt kān ʻān læ khanittasāt khwāmpen loē t læ khwām thaothīam thāngkān sưksā [PISA 2015 assessment of reading science and mathematics, excellence and educational equality]. Retrieved from https://drive.google.com/file/d/1XE2_ubzIwLNH5tSZjgsIM33eYdzq1lYl/view

Thunyakorn, S., Tantinakhongul. A., Tungkunanan. P., & Mathewveerawong, K. (2018). The best practice in the development of small school under the Samutprakan Primary Education Service Office 2. Journal of Industrial Education, 17(2), 169-178.