การพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ออนไลน์แบบเปิดสำหรับมหาชนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ออนไลน์แบบเปิดสำหรับมหาชน 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียน 3) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียน กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียน รายวิชา การวิจัยทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ต่ำกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ จำนวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) เนื้อหาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 3) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ออนไลน์แบบเปิดสำหรับมหาชน 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5) แบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ สถิติค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานแบบกลุ่มเดียว
ผลการวิจัยพบว่า 1) การพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ มีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 3) ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Journal of Information and Learning ดำเนินการโดยสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายลิขสิทธิ์ โดยเจ้าของลิขสิทธิ์จะมีสิทธิในการทำซ้ำ ดัดแปลง และเผยแพร่งานบทความ ทั้งรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ การทำฉบับสำเนา การแปล และการผลิตซ้ำในรูปแบบต่างๆ ลิขสิทธิ์บทความเป็นของผู้เขียนและสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี วารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาตีพิมพ์ตามความเหมาะสม รวมทั้งการตรวจทานแก้ไข การปรับข้อความ หรือขัดเกลาภาษาให้ถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำหนด สำหรับผลการวิจัยและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความถือเป็นความคิดเห็นและอยู่ในความรับผิดชอบของผู้เขียน
References
Akkarakahasin, N. (2019). Theknik læ krabūankān sāngsan sư̄ mō chankrāfik phư̄a chai nai sư̄ ʻō̜nlai [Techniques and Creative Media Motion Infographic Processes for Use in Online Media] (Master's thesis). Bangkok University, Bangkok.
Bozkurt, A., Keskin, N., & Waard, I. (2016). Research Trends in Massive Open Online Course (MOOC) Theses and Dissertations: Surfing the Tsunami Wave. Journal of Open Praxis, 8(3), 203-221.
Chaijaroen, S. (2011). Education technology: Principles theories to practices. Khon Kaen: Klungnana Vitthaya.
Chaijaroen, S. (2014). Instructional design: Principles and theories to practices. Khon Kaen: Annaoffset.
Dechakhup, P., & Yindeesuk, P. (2014). kānčhatkān rīanrū nai satawat thī yīsipʻet [Learning Management in the 21st Century]. Bangkok: Chulalongkorn University.
Heanghom, N., & Chumsukon, M. (2017). A study of knowledge construction behavior and satisfaction using constructivist learning activities with learning resources in the community, social religion and culture of Grade 5 Students. Journal of Education Graduate Studies Research, Khon Kaen University, 11(4), 45-54.
Kanjag, I. (2016). Foundation of education technology. Khon Kaen: Klungnana Vitthaya.
Khamkaew, P., & Chaijaroen, S. (2019). Design and development of constructivist web-based learning environment model to enhance creative problem solving for vocational diploma Students. Academic Services Journal, Prince of Songkla University, 30(1), 1-10.
Khlaisang, J. (2017). Kānphalit læ chai sư̄ yāng pen rabop. Bangkok: Chulalongkorn University.
Meesuwan, W. (2018). The research in educational technology. Phitsanulok: Naresuan University.
Mingsiritham, K. (2009). Self-directed learning on web-based learning. Journal of Education, Khon Kaen University, 32(1), 6-13.
Napapongs, W. (2009). The research in educational technology and innovation. Pattani: Pattani Karnchang.
Phahay, S. (2017). The paradigm of educational technology in the digital age. Phrae: Phraethai utsaha kanphim.
Shounchupon, A., (2015). Concept of self-directed learning with education management. Journal of Graduate Studies, Valaya Alongkorn Rajabhat University, 9(1), 213-221.
Susing, J., & Chaijaroen, S. (2020). Designing framework of constructivist web-based learning environments with Augmented Reality to enhance creative thinking on topic of animation for grade 9 students. Journal of Information and Learning, 31(2), 1-9.
Suwanvapee, P., & Kanjug, I. (2020). The development of gamification learning environment to enhance problem-solving thinking skills in computing science sourses on problem-solving topic for Mathayomsuksa 1 Students at Nongwuasorpittayakhom School. Journal of Graduate Research, Chiang Mai Rajabhat University, 11(1), 15-27.
Wiratchai, N. (2020, October 16). Kānkamnot khanāt tūayāng nai kānthotsō̜p sommuttithān wičhai [Determination of sample size in research hypothesis testing]. Retrieved from https://lllskill.com/web/index.php
Yuneyong, J., & Soodsang, N. (2017). Study of the achievement based on constructivist concept of design principle via computer instruction of Undergraduate Students. Art and Architecture Journal, Naresuan University, 8(1), 1-11.
Zhu, M., Sari, A., & Bonk., C. (2018, June). A systematic review of MOOC research methods and topics: Comparing 2014-2016 and 2016-2017. EdMedia + Innovate Learning 2018, Netherlands. Abstract retrieved from https://www.trainingshare.com/