การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวนหญิงในพื้นที่นครบาล

ผู้แต่ง

  • Pitsarn Phanwattana

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์ศึกษา (1) สภาพทั่วไปคุณลักษณะพื้นฐานส่วนบุคคล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ความผูกพันกับองค์การ แรงจูงใจในการทำงาน สมรรถนะในการทำงาน และประสิทธิผลการปฏิบัติงาน และ (2) อิทธิพลของปัจจัยต่างๆ ที่มีต่อการปฏิบัติงาน ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เจาะลึกและสังเกตพฤติกรรมของพนักงานสอบสวนหญิงระหว่างปฏิบัติงานจำนวน 7 ราย และใช้แนวทางการวิจัยเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามโดยเก็บข้อมูลจากพนักงานสอบสวนหญิง 73 ราย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบเชิงชั้น ผลการศึกษาพบว่า ตัวแปรแรง จูงใจเรื่องความก้าวหน้าในการทำงานมีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการทำงานสูงสุด รองลงมาได้แก่ ตัวแปรสมรรถนะเรื่องความรู้ด้านกฎหมาย และตัวแปรคุณลักษณะอันพึงประสงค์เรื่องความซื่อสัตย์เป็นลำดับท้าย

References

กิตติพงษ์ กิตยารักษ์. (2550). รายงานการสัมมนาปฏิรูปตำรวจประชาชนได้อะไร. นนทบุรี: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2558). การสร้างมาตรวัดสำหรับการวิจัยที่ถูกต้องและได้มาตรฐานสากล. กรุงเทพฯ: สามลดา.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2555). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: สามลดา.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2554). วิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพยุคใหม่. กรุงเทพฯ: สามลดา.

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฏีกา. (2552). ประกาศสำนักงานตำรวจแห่งชาติเรื่องการกำหนดหน่วยงานและเขตอำนาจการรับผิดชอบหรือเขตพื้นที่การปกครองของส่วนราชการ. ราชกิจจานุเบกษาเล่ม 126 ตอนพิเศษ 130ง.

สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ. (2555). แผนปฏิบัติราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2556. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ตำรวจ.

Agarwal, J., Osiyevskyy, O., and Feldman, P. (2015). Corporate reputation measurement: Alternative factor structures, nomological validity, and organizational outcomes. Journal of business ethics, 130(2), 2015, 485-506.

Creswell, J.W. (2014). Research design: qualitative, quantitative, and mixed methods approaches. New Delhi: Thousand Oaks Press.

Demo, G, & Paschoal, T. (2016). Well-being at work scale: Exploratory & confirmatory validation in the USA. Paidéia, 26(63), 35-43.

Hecimovich, M.D., & Hebert, J.J. (2016). Reliability and concurrent validity of an alternative method of lateral lumbar range of motion in athletes. SAJSM, 28, 23-26.

Kline, R. (2016). Item-level analysis: Exploratory and confirmatory factor analysis. Retrieved 14 October 2016, from http://psychology.concordia.ca/fac/kline/libr ary/k13b.pdf.

Kline, R. (2016). Item-level analysis: Exploratory and confirmatory factor analysis. Retrieved 14 October 2016, from http://psychology.concordia.ca/fac/kline/libr ary/k13b.pdf.

Lafave, L., Tyminski, S., and Riege, T. (2016). Content validity for a child care self-assessment tool: Creating healthy eating environments scale. Canadian journal of dietetic practice and research, 77(2), 89-92.

Prenzler, T., & Sinclair, G. (2013). The status of women police officers: An international review. International Journal of Law, Crime and Justice, 41(2), 115–131.

Rogers, K.D., Pilling, M., Davies, L., Belk, R., Green, C.N. and Young, A. (2016). Translation, validity and reliability of the British Sign Language (BSL). Qual Life Res, 25, 1825-1834.

Rojas, S.L., & Widiger, T.A. (2013). Convergent and discriminant validity of the five factor form. Assessment, 21, 143-157.

Ryu, E. (2013). Factorial invariance in multilevel confirmatory factor analysis. British Journal of Mathematical and Statistical Psychology, 67, 172-194

Sparrow, M.K. (2015). Measuring performance in a modern police organization. Retrieved 17 October 2016, from https://www.ncjrs.gov/pdffiles1/nij/248476 .pdf

Wood, M., Paulus, T., Atkins, D.P., and Mackin, R. (2015). Advancing qualitative research using qualitative data analysis software (QDAS)? Reviewing potential versus practice in published studies using ATLAS.ti and NVivo, 1994–2013. Social Science Computer Review, 34(5), 597-617.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-06-2017

How to Cite