การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการอ่าน การเขียน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนเรียนรวม ตามกระบวนการอาร์ทีไอ (Response to Instruction: RTI)

ผู้แต่ง

  • Ketsarin Sritana
  • Daranee Saksiriphol
  • Paitoon Phothisarn

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการอ่าน    การเขียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนเรียนรวม ตามกระบวนการอาร์ทีไอ (Response to Instruction : RTI) มีการดำเนินการวิจัย 3 องค์ประกอบ ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 เพื่อสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการอ่าน การเขียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนเรียนรวม ตามกระบวนการอาร์ทีไอ องค์ประกอบที่ 2 เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการอ่าน การเขียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนเรียนรวม ตามกระบวนการอาร์ทีไอ และองค์ประกอบ 3 เพื่อประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการอ่าน การเขียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ตามกระบวนการอาร์ทีไอ  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ครูที่สอนในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ผู้อำนวยการโรงเรียน หัวหน้าฝ่ายวิชาการ ครูภาษาไทย ครูผู้สอนและผู้ปกครองนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาพิเศษ ครูชำนาญการศึกษาพิเศษ ที่มีประสบการณ์ในการทำงานกับเด็กที่มีความต้องการพิเศษและโรงเรียนเรียนรวม เครืองมือที่ใช้ในการศึกษา มีทั้งหมด 9 ชนิด ได้แก่ 1) รูปแบบการดูแลชั้นเรียนเรียนรวมและแบบประเมินความพึงพอใจ  2) ชุดเทคนิคการสอนเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของนักเรียนในชั้นเรียนรวมพร้อมคู่มือการใช้พร้อมแบบประเมินความพึงพอใจ 3) การผลิตสื่อและจัดอบรมการใช้สื่อการสอนพร้อมแบบประเมินความพึงพอใจ 4) ชุดการสอนนักเรียนพร้อมคู่มือการใช้และแบบประเมินความพึงพอใจ 5)  คู่มือการดูแลนักเรียนในชั้นเรียนรวมพร้อมแบบประเมินความพึงพอใจ 6) เทคนิคการสอนเฉพาะสำหรับนักเรียนที่มีปัญหาด้านการอ่าน การเขียนพร้อมแบบประเมินความพึงพอใจ 7) แบบประเมินด้านการอ่าน การเขียนก่อนและหลังเรียน 8) แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการอ่าน การเขียน ตามแนววิธีการสอนแบบบูรณาการ 9) ประเมินความสามารถด้านการอ่าน การเขียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS และ ใช้สถิติค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( gif.latex?\bar{X}) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. from
www.curriculum51.net/ 13 ส.ค. 2557

กรรณิการ์ พวงเกษม. (2532). การสอนเขียนเรื่องโดยใช้จินตนาการทางสร้างสรรค์ ในระดับประถม
ศึกษา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

กาญจนา นาคสกุล. (2552). ภาษาไทยวันนี้: รวมคำภาษาไทยน่ารู้จากนิตยสารสกุลไทยและ
โทรทัศน์. กรุงเทพมหานคร: เพื่อนดี.

ผดุง อารยะวิญญู. (2554). อาร์ทีไอ : กระบวนการสอนในแนวใหม่ = RTI :
Response to Instruction.กรุงเทพฯ : ไอ คิว บุ๊คเซ็นเตอร์

ฟาฏินา วงศ์เลขา.(2553). สันติศึกษาน าพาสังคมสู่สันติสุข .หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 9 ก.พ. 53.

ดารณี ศักดิ์ศิริผล. (2556). การศึกษาภาวะสมาธิสั้นในเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ในเขต
กรุงเทพมหานคร. ภาควิชาการศึกษาพิเศษ คณะศึกษาศาสตร์มหาวทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ดารณี อุทัยรัตนกิจ. (2556). การศึกษาภาวะสมาธิสั้นในเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ในเขตกรุงเทพมหานคร. ภาควิชาการศึกษาพิเศษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช. (2551). การพัฒนาหลักสูตรและสื่อการสอนหน่วยที่ 8 -15.
พิมพ์ครั้งที: 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

วัลภา ศศิวิมล. (2531). การอ่านตีความ.พิมพ์ครั้งที่ 3.พิษณุโลก : คณะวิชามนุษย์และสังคมศาสตร์
และสังคมศาตร์ สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม.

ศรียา นิยมธรรม. (2537). รายงานการวิจัยการสร้างแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการศึกษาพิเศษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มปป). เอกสาร
ประกอบการบรรยาย เรื่องสื่อการเรียนการสอน.

Allen, K. E., & Schwartz, I. S. (1996). The exceptional child: Inclusion in early childhood
education (3rd ed.).

Excerpted from Küpper, L. (2011). Communicating with your child’s school through letter
writing (Parent’s Guide 9). Washington, DC: National Dissemination Center for
Children with Disabilities (NICHCY).

Pam bell Morris. (2008). Collaborating for Student Success: General Education and Special
Education Working Together. Vaughn Gross Center for Reading and Language Arts.

Scheyer et al. (1996). The Inclusive Classroom Teacher Created Materials, Inc. The Inclusive
Classroom. http://www.oneonta.edu/faculty/thomasrl/YaTeachTech.pdf

Strully, J., & Strully, C. (1996). Friendships as an educational goal: What we have learned and
where we are headed. In W.

Stainback & S. Stainback (Eds.), Inclusion: A guide for educators. Baltimore: Paul H. Brookes
Publishing Co.

Gene J.Blall. (2010). The Neurochemical Basis of Autism. Published: 1999.
Ingver Lundberg, Finn Egil Tonnessen and Ingolv Austad. (1999). Dyslexia: Advances in
Theory and Practice. Published: 1999.

Jorge Cruz-González , Pedro López-Sáez .( 2014).Directions of external knowledge
search: investigating their different impact on firm performance in high-technology industries. Journal of Knowledge Management, Vol. 18 Iss: 5, pp.847 – 866.

Linda McCorkel Clinard. (2007). Literacy instruction in the content areas: Getting to the
core of middle and high school improvement.

Heller and Greenleaf; Available at www. all4ed.org/files/LitCon.pdf สืบค้นเมื่อ 29 สงหาคม 2559
http://graduateway.com/the-effectiveness-of-content-literacy-instruction/

LDAC. (2001). Fact Sheet : What is a Learning Disability?. Learning Disability Association
of Canada.

Muller&Markiwitz. (2004). The educators’ guide to Learning disabilities and ADHD. The
Individuals with Disabilities Education Act (IDEA). Retrieved February 10,
2013, from http://www.ldon line.org/features/idea2004.

Murphy & Nancy. (1997). A Multisensory vs. Conventional Approach to Teaching
Spelling. M.A. Project, Kean College of New Jersey.

Pam bell Morris. (2008). Respond To Intervention : what parents want to know. Scottish
Rite Parent Group ,Austin Texas.

Samuel Kirk. (2013). Pioneer Of Special Education Field. Retrieved July 31, 2012, from
https://en.wikipedia.org/wiki/Samuel_Kirk.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

25-05-2018

How to Cite