ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีอิทธิพลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชน กรุงเทพมหานคร
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. ระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา
2. ระดับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา 3. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำ
การเปลี่ยนแปลงกับองค์การแห่งการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา 4. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ที่มีอิทธิพลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน กรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ มีจำนวน 415 คน ได้แก่ผู้บริหาร 88 คนและครู 327 คน เครื่องมือที่ใช้
ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็น ประมาณค่า 5 ระดับ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
จากผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา และ 2. ระดับการ
เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาอยู่ในระดับมากทั้งโดยภาพรวม และรายด้าน 3. ความ
สัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับองค์การแห่งการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาโดยมีค่าความ
สัมพันธ์กันในทางบวกหรือมีความสัมพันธ์กันในลักษณะที่คล้อยตามกัน และ 4. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ที่มีอิทธิพลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน กรุงเทพมหานครในภาพรวม มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
References
ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 3. วิทยานิพนธป์ ริญญามหาบัณฑิต.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ขวัญฤทัย ทองธิราช. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับสภาพ
ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หนองบัวลำภู. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
คำนึง ผุดผ่อง. (2547). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับองค์การ
แห่งการเรียนรู้ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพัฒนา
พื้นที่ชายฝั่งตะวันออก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.
ชัยวัฒน์ ตุ่มทอง. (2548). ภาวะผู้นำของผู้บริหารที่ส่งผลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2546). การจัดการสมัยใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ. ทริปเพิ้ลกรุ๊ป.
มะลิวรรณ์ ภูแช่มโชติ. (2552). ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้
ของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่นเขต 1. วิทยานิพนธ์
ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วีระวัฒน์ ปันนิตามัย. (2544). การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:
เอ็กซ์เปอร์เน็ท.
ศักดา มัชปาโต. (2550). ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาขอนแก่น เขต 5. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
สมคิด สร้อยน้ำ. (2547). การพัฒนาตัวแบบองค์การแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์
ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สัมฤทธิ์ หงส์ชูโต. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำและการบริการแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
โรงเรียนกับประสิทธิผลองค์การโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา
สกลนคร เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
สุจิตราภรณ์ สำภาอินทร์. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร
สถานศึกษากับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาราชบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง.
สุพจน์ นาสมบัติ. (2547). วิสัยทัศน์และภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ ์ เขต 2. วิทยานิพนธศ์ ิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น.
Bass, Bernard M, and Bruce J. Avolio. (1991). The Full Range Model of Leadership. New York:
McGraw-Hill, Inc.
Marquardt, M.J. (1996). Building the Learning organization: A systems approach to quantum
improvement and global success. New York: McGraw-Hill.
Senge, Peter M. and others. (1994). The Fifth Discipline: Strategy and Tool for Building
a Learning Organization. New York: Doubleday.