วิวัฒนาการของการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
บทคัดย่อ
การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เป็นปัจจัยสำคัญที่เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ
และเป็นปัจจัยสนับสนุนการยกระดับความสามารถการแข่งขันทางการค้าการลงทุนของประเทศ เพราะ
โลจิสติกส์และโซ่อุปทานถือเป็นต้นทุนสำคัญของผู้ประกอบการทั้งที่อยู่ในภาคเกษตร อุตสาหกรรม และ
บริการ โดยหน้าที่หลักของการจัดการโลจิสติกส์ ได้แก่ การจัดการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ และข้อมูล
จากจุดกำเนิดไปยังจุดหมายปลายทาง โดยบูรณาการร่วมกับโซ่อุปทาน ที่มีกระบวนการรวบรวม
การวางแผน และการจัดการของกิจกรรมทั้งหมด ระหวา่ งผูผ้ ลิตกับผูข้ ายปจั จัยผลิต โดยเชื่อมโยงกระบวนการ
ดำเนินธุรกิจทุกขั้นตอนที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกันเป็นห่วงโซ่ หรือเครือข่าย เพื่อให้เกิดการประสานงานกัน
อย่างต่อเนื่อง และเพื่อให้การดำเนินงานมีต้นทุนที่ต่ำและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ซึ่งหากมีการนำวิวัฒนาการ
การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ และได้รับความร่วมมือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ทุกฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชน ก็จะนำไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศ
อย่างยั่งยืนได้
References
กระจายสินค้าและบริการ (Logistics Center) ขององค์การคลังสินค้า กระทรวงพาณิชย์
ของศูนย์วิจัยโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปี 2549”.
กระทรวงพาณิชย์. (2555). ธุรกิจบริการโลจิสติกส์. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
44/100 ถนนนนทบุรี 1 อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000.
ชัยณรงค์ ไผ่รุ่ง. (2553). ผลกระทบของการจัดการความร่วมมือและคุณภาพสารสนเทศที่มีต่อ
ประสิทธิผลโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมการผลิตในประเทศไทย. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต.
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
คำนาย อภิปรัชญาสกุล. (2546). โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน “กลยุทธ์ทำให้รวย ช่วยให้
ประหยัด”. กรุงเทพฯ: นัฏพร.
ดวงพรรณ ศฤงคารินทร์ และคณะ. (2554). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการร่างยุทธศาสตร์วิจัย
โลจิสติกส์แห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2555-2559. สกว.
ภัชรี นิ่มศรีกุล. (2552). การประยุกต์ใช้การตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์เพื่อคัดเลือกศูนย์กลาง
โลจิสติกส์ด้านการขนส่งสินค้าในประเทศไทยบนแนวระเบียงเศรษฐกิจ. วิศวกรรมศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมอุตสาหกรรม. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ธนิต โสรัตน์. (2548). การทำแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร. การจัดการห่วงโซ่อุปทานในยุคโลกาภิวัตน์:
What is Logistics and Supply Chain Management: V-SERVE. เล่มที่ 1.
ธนิต โสรัตน์. (2550). การประยุกต์โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน. กรุงเทพฯ: วี-เซิร์ฟ โลจิสติกส์.
รุธิร์ พนมยงค์. (2550). การพัฒนาเครื่องมือสำหรับการวินิจฉัยความสามารถทางด้านโลจิสติกส์ของ
ผู้ประกอบการธุรกิจ SME ของไทย. การประชุมเชิงวิชาการประจำปี 2550 การจัดการโลจิสติกส์
และโซ่อุปทาน (GTT) ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ.
เรืองเทพ รุ่งโรจน์สาคร. (2551). ลอจิสติกส์ของโรงสีข้าวทรัพย์เจริญ. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วิทยา สุหฤทดำรง. (2546ข). ลอจิสติกส์และการจัดการโซ่อุปทานอธิบายได้ง่ายนิดเดียว. กรุงเทพฯ:
ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ศิริขวัญ ขุนรัตนโรจน์. (2551). การศึกษากระบวนการโซ่อุปทานของบริษัทจอลลี่ เท็กซ์ไทล์ อินดัสตรี
จำกัด. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สถาบันนานาชาติเพื่อเอเชียแปซิฟิกศึกษา. (2553). รายงานการเปิดเสรีโลจิสติกส์อาเซียน โอกาส
ผลกระทบ และการปรับตัวของผู้ประกอบการไทย. โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการ
โลจิสติกส์ไทยสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. สถาบันนานาชาติเพื่อเอเชียแปซิฟิกศึกษา มหาวิทยาลัย
กรุงเทพ. ธันวาคม 2553.
สมนึก สมชัยกุลทรัพย์. (2549). การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ในประเทศไทย. นิตยสาร Logistics Digest.
Vol. 01 No. 01 April 2005. สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย.
Deepen, J. M. (2007). Logistics outsourcing relationships: Measurement, antecedents, and
effects of logistics outsourcing performance. Heidelberg, Gerrrwny: Physlca-Verlag,
38.
Stock, James R. and Lambert, Douglas M. (2001). Strategic Logistics Management. (4th ed.):
McGraw-Hill.
The Council of Logistics Management, 1992-3, USA.
https://www.geocities.com/scsprogram/html/logistics.html
วารสารการวิจัย กาสะลองคำ CR25RU