อิทธิพลของความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงานที่มีต่อประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีบริษัท ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คำสำคัญ:
อิทธิพล, ความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงาน, ประสิทธิภาพการทำงาน, นักบัญชีบริษัทบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทดสอบอิทธิพลของความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงานที่มีต่อประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีบริษัทในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักบัญชีบริษัทในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 182 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ จากผลการทดสอบผลกระทบ พบว่า 1) ความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงาน ด้านความซื่อสัตย์ต่อตนเอง มีอิทธิพลเชิงบวกกับประสิทธิภาพการทำงานโดยรวม (β =0.257) 2) ความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงาน ด้านความซื่อสัตย์ต่อบุคคลอื่น มีอิทธิพลเชิงบวกกับประสิทธิภาพการทำงานโดยรวม (β = 0.304) 3) ความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงาน ด้านความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ มีอิทธิพลเชิงบวกกับประสิทธิภาพการทำงานโดยรวม (β = 0.327) และ 4) ความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงาน ด้านความซื่อสัตย์ต่อหมู่คณะ มีอิทธิพลเชิงบวกกับประสิทธิภาพการทำงานโดยรวม (β = 0.456) โดยตัวแปรทั้งหมดมีประสิทธิภาพในการพยากรณ์ร้อยละ 65.50 (R2= 0.655)
References
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2561). ฐานข้อมูลสู่ธุรกิจ. สืบค้นเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2561,
จาก http://knowledgebase.dbd.go.th/DBD/Main/login.asp.
กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ. (2551). แนวทางการพัฒนาจริยธรรมไทย. กรุงเทพฯ : กรมการศาสนา.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550). การวิเคราะห์สถิติ : สถิติสำหรับบริหารและวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 10.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จันทร์จิรา จันทโสภา. (2559). ผลกระทบของคุณธรรมในวิชาชีพบัญชีที่มีต่อความสำเร็จในการทำงานของ
นักบัญชีโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์
บช.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. (2550). ระเบียบวิธีวิจัย : แนวปฏิบัติสู่ความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: ยูแอนด์ไออินเตอร์
มีเดีย.
บุษยมาศ แสงเงิน. (2560). ความซื่อสัตย์ (Integrity)ในการทำงาน. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2560
จาก http://www.gotoknow.org/posts/408036.
ประมวล พระตลับ. (2551). ผลกระทบขอความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อ
ประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ในเขตภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2556). จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2553. ฉบับ
ที่ 19. กรุงเทพฯ: คำชี้แจงข้อบังคับสภาวิชาชีพบัญชี.
สุจิตรา แสนชัย. (2559). ผลกระทบของจริยธรรมทางวิชาชีพบัญชีสมัยใหม่ที่มีต่อความสำเร็จในการ
ปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ บช.ม.
มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุพรรณี ทัพธานี. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงานกับประสิทธิภาพการทำงาน
ของพนักงานบัญชีในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วิทยานิพนธ์ บช.ม.
มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุมินทร เบ้าธรรม. (2558). วิจัยทางการบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.
เอมิกา ภูยาดวง. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างความซื่อสัตย์ในวิชาชีพกับความสำเร็จในการทำงานของ
ผู้ทำบัญชีในเขตจังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ์ บช.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
Aker, D.A. Kumer and G.S. Day. (2001). Marketing Research. 7thed. New York : John Wiley
& Sons.
BBC. (2015). Toshiba chief executive resigns over scandal. Retrieved 22 August 2016 From
http://www.bbc.com/news/business-33605638.
Ciulla, J. B., Martin, C. W., & Solomon, R. C. (2011). Honest work: A business ethics reader.
Cronbach. (1970). Essentials of Paychological Testing. 3th ed. New York : Harper and Row.
Federation of Accounting Professions. (2016). Orers of the Ethics Committee. Retrieved on
July 2016 from http://www.fap.or.th/index.php?lay=show&ac=ariticle&ld
=539620718.
Lussier, R. N. & Achua, C. F. (2007). Effective Leadership. 3th ed. International Edition:
South-Westetn.
Nunnally, C. Jum. (1978). Psychometric theory. New York : McGraw-Hill.
Meymandi, A. R., Rajabdoory, H., & Asoodeh, Z. (2015). The Reasons of Considering Ethics in
Accounting Job. International Journal of Management, Accounting and
Economics, 2(2), 136-143.
Rubin, D. Riley. (2000). “The Problem of Elicitation Management Knowledge : A Case of
Research into Hospitality Management Knowledge,” International Journal of
Hospitality Management. 3(5) : 123-145.
