แรงจูงใจในการทำงานของพนักงานผู้ให้บริการธุรกิจการแพทย์แผนไทย: กรณีพนักงานผู้ให้บริการในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

ผู้แต่ง

  • จีรพร วงค์ขัติย์ วิทยาลัยเชียงราย
  • พรรนภา สวนรัตนชัย
  • ฉันทาภรณ์ จันศรีนิยม

คำสำคัญ:

แรงจูงใจในการทำงาน, การแพทย์แผนไทย, ธุรกิจบริการ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ศึกษาแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานผู้ให้บริการการแพทย์แผนไทย ปัญหาการขาดพนักงานที่มีทักษะมีผลต่อการดำเนินงานและการคงอยู่ของธุรกิจ ความสำเร็จของธุรกิจส่วนหนึ่งเกิดจากแรงจูงใจของพนักงานนำไปสู่ปัญหาของการวิจัยนี้ซึ่งมีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษาประเด็นแรงจูงใจของพนักงาน และ (2) ค้นหาอุปสรรคบั่นทอนในการทำงานของพนักงาน การวิจัยนี้ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกและผู้ให้ข้อมูลคือพนักงานจำนวน 21 คน ซึ่งทำงานในสถานบริการการแพทย์แผนไทยในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย เมื่อข้อมูลอิ่มตัวผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า พนักงานเห็นโอกาสทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย ที่เป็นพื้นฐานความรู้ในอาชีพ เป็นจูงใจภายนอกที่ได้ค่าตอบแทนเพียงพอเมื่อเทียบกับระดับการศึกษาของพนักงาน แรงจูงใจภายในเกิดจากการยอมรับจากผู้ใช้บริการและสังคม แรงจูงใจทั้งสองด้านทำให้เกิดความรู้สึกการมีคุณค่าในตนเอง มีความสุขในการทำงานจากการช่วยเหลือผู้อื่นให้พ้นทุกข์ อุปสรรคบั่นทอนจิตใจและการทำงานคือภาพลักษณ์ของอาชีพ การวิจัยนี้ยังพบว่าระดับแรงจูงใจสูงของพนักงานสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บริการที่เพิ่มขึ้น หน่วยงานของรัฐควรสนับสนุนธุรกิจโดยการส่งเสริมการฝึกอบรม พัฒนามาตรฐานวิชาชีพและธุรกิจ และพิจารณาหลักเกณฑ์และจริยธรรมการทำงาน

References

นิฤมล สว่างมณีวงศ์. (2559). การจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์

มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

แนวทางการดำเนินงานสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ.(2560) กองสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ. กรม

สนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. http://www.thaispa.go.th/spa2013/web/ web_new/fileupload_doc/2017-11-15-3-17-2522507.pdf

วิชัย โชควิวัฒน (2560). การแพทย์แผนไทยในยุคประเทศไทย 4.0 ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี วารสาร

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 15(3), 277-286.

Atkinson, J. W., and Brich, D. (1978). Introduction to motivation (2nd ed.). New York: D. Van Nostrand.

Ballout, H. I. (2009). Career commitment and career success: Moderating role of self-efficacy. Career

Development International. 14(7), 655-670.

Bandura, A. (1986). Social foundations of thought and action: A social cognitive theory. Englewood

Cliffs: Prentice-Hall.

Beck, R. C. (1983). Motivation: Theories and principles. Englewood Cliffs: Prentice-Hall.

Cheramie, R. (2013) An examination of feedback-seeking behaviors, the feedback source and career

success. Career Development International, 18(7), 712-731.

Carson, K. D., and Bedeian, A. G. (1994). Career commitment: Construction of measure and

examination of its psychometric properties. Journal of Vocational Behavior, 44, 237-262.

Certo, S. C., Peter, J. P. (1990). Strategic management: A focus on process. New York: McGraw-Hill.

Danciu, V. (2013). The sustainable company: New challenges and strategies for more sustainability.

Theoretical and Applied Economics. 10(9), 7-26.

Dess, G. G., Lumpkin, G. T., and Elsner. (2010). Strategic management: Text and cases. New York:

McGraw-Hill.

Geen, R. G., Beatty, W. W., and Arkin, R. M. (1984). Human motivation: Physiological, behavioral, and

social approaches. Boston: Allyn and Bacon.

Ginzberg,Eli.(1974). Counseling for career development. Boston: Houghton Mifflin.

Hax, A. C., and Majluf, N. S. (1996). The strategy concept and process: A pragmatic approach (2nd ed.).

New Jersey: Prentice Hall.

Janssan, Nilsson, Modig and Vall. (2017). Commitment to Sustainability in Small and Medium- Sized

Enterprises: The Influence of Strategic Orientations and Management Values. Business Strategy

and the Environment. (pp. 69-83). 26(1). February 2017

Katz, D., and Kahn, R. L. (1978). The social psychology of organizations (2 nd ed.). New York” John

Wiley and Sons.

May, G. (2010). Strategic planning: Fundamentals for small business. New York: Business Expert Press.

Morioka, M. N., Evans, S., and de Carvalho, M. M. (2016). Sustainable business model innovation:

Exploring evidences in sustainability reporting. 659-667.

Nerurkar, O. (2017). A framework of sustainable business models. Indian Journal of Economics and

Development. 5(3), 1-6.

Kuriloff, Arthur., John M. Hemphill Jr., and Douglas Cloud. (1993) Starting and Managing The Small

Business.3d ed., Singapore: McGraw-Hill

Salimzadeh, P., Courvisanos, J., and and Nayak, R. R. (2013). Sustainability in small and medium

enterprises in regional Australia: A framework of analysis (pp. 11-22) Paper presented at 26th

Annual, Sydney.

Sidik, I. G. (2012). Conceptual framework of factors affecting SME development: Mediating factors on

the relationship of entrepreneur traits and SME performance. 373-383.

Thompson, Strickland, and Gamble. (2010). Crafting and Executing Strategy: The Quest for Competitive

Advantage : Concepts and Cases. New York: McGraw-Hill/Irwin

Weiten, W. (2014). Psychology: Themes and variations. Australia: Wadsworth.

Wheelen, T. L., and Hunger, J. D. (2010). Strategic management and business policy: Achieving

sustainability. (12th ed.). Boston: Prentice Hall.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

16-12-2020

How to Cite