ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อ การตัดสินใจเลือกใช้สายการบินไทยต้นทุนต่ำในสถานการณ์โควิด-19

ผู้แต่ง

  • นริศรา ภาควิธี
  • ปารณีย์ แก้วนาคแนว
  • พิศาล เจริญสุข
  • วิชญาดา ฉายอริยะกุล
  • สุธาสินี แก่นจันทร์
  • นริศรา ภาควิธี

คำสำคัญ:

สายการบินต้นทุนตํ่า, ส่วนประสมทางการตลาด, โควิด-19

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้สายการบินไทยต้นทุนต่ำในสถานการณ์โควิด-19 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม และมีการสุ่มตัวอย่างแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็นด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบความสะดวก เก็บรวบรวมข้อมูล 400 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา (ร้อยละ) เพื่อบรรยายคุณลักษณะของผู้ตอบแบบสอบถาม และใช้สถิติเชิงอนุมาน (การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์) ในการทดสอบสมมติฐาน

          ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการโดยรวมมีผลเชิงบวกต่อการตัดสินใจเลือกใช้สายการบินไทยต้นทุนต่ำในสถานการณ์โควิด-19 ได้แก่ ปัจจัยด้านสินค้าและบริการ ช่องทางการจัดจำหน่าย บุคลากร กระบวนการ และกายภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 สำหรับปัจจัยการส่งเสริมการตลาดและราคา พบว่า ในภาพรวมไม่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้สายการบินไทยต้นทุนต่ำในสถานการณ์โควิด-19 แต่ถ้าพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีบางรายด้านของปัจจัยราคา (การแจงรายละเอียดที่ชัดเจนของราคา ราคาบัตรโดยสารเหมาะกับระยะทาง และใช้เครดิตเงินสดในการชำระค่าโดยสารแบบไม่เสียค่าธรรมเนียม) มีอิทธิพลเชิงบวกต่อการเลือกใช้สายการบินไทยต้นทุนต่ำของลูกค้าในช่วงสถานการณ์โควิด-19

References

กฤษณา รัตนพฤกษ์. (2545). การตลาดบริการ. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

จิตติยา ศรีฤทธิประดิษฐ์ (2558). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการ

สายการบินต้นทุนต่ำภายในประเทศในเขตจังหวัดอุบลราชธานีของผู้โดยสารสายการบินนกแอร์.

(วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.

จิรายุ อักษรดี. (2554). ปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อระดับความพึงพอใจในการเลือกใช้บริการ

สายการบินในประเทศไทยในการเดินทางเส้นทางบินในประเทศ. สืบค้นเมื่อ 24 มีนาคม 2564,

จาก http://dspace.bu.ac.th/bitstream/123456789/376/1/jirayu_auks.pdf

ชูศรี วงศ์รัตนะ (2541). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือ

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เฌอศานต์ ศรีสัจจัง. (2563). ทางเลือก-ทางรอด “สายการบิน” ยุค COVID-19. สืบค้นเมื่อ 17 มีนาคม

, จาก ไทยพีบีเอส : https://news.thaipbs.or.th/content/295197

ณัฐฐา หงษ์แก้ว. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการใช้บริการของสายการบิน ไทยแอร์เอเชีย

ภายในประเทศ เชียงใหม่-กรุงเทพฯ : รายงานวิจัยปัญหาเศรษฐกิจปัจจุบัน. เชียงใหม่ :

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ธนกร ณรงค์วานิช. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ปฏิบัติงานในสายการบิน

ไทยแอร์เอเชีย. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2564, จาก https://1th.me/QfCet

ธิดารัตน์ สืบสง่า. (2554). การพัฒนากลยุทธ์การแข่งขันทางธุรกิจของสายการบินต้นทุนต่ำ.

(การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ปาริชาติ ยานะติ. (2548). ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการสายการบิน

ต้นทุนต่ำของผู้โดยสารที่ใช้บริการ ณ ท่าอากาศยานเชียงใหม่. สืบค้นเมื่อ 24 มีนาคม 2564,

จาก http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/8371

ปิยวรรณ ไกรเลิศ. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อบริการสายการบิน ศึกษาเปรียบเทียบระหว่าง

สายการบินไทยสมายล์และสายการบินไทยแอร์เอเชีย เส้นทางกรุงเทพฯ-กระบี่. (การค้นคว้า

อิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, ปทุมธานี.

พัฒนา ศิริโชติบัณฑิต. (2548). การตลาดสำหรับธุรกิจบริการ. กรุงเทพฯ : แซทโฟร์พริ้นติ้ง.

วิทวัส อุดมกิตติ. (2549). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับกระบวนการตัดสินใจเลือกซื้อบริการสายการบิน

ต้นทุนต่ำ. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2564, จาก https://scholar.utcc.ac.th/bitstream

/6626976254/2757/1/204177.pdf

วิธาน จำรูญวัฒน์. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำ

ด้วย SERVQUAL และ KANO Model. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต).

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

วิภาวี เธียรลีลา. (2563). COVID-19 สู่ล็อกดาวน์น่านฟ้า 'สายการบิน' ปรับตัวอย่างไร. สืบค้นเมื่อ 23

มีนาคม 2564, จาก กรุงเทพธุรกิจ : https://www.bangkokbiznews.com/ news/detail/1845

ศิริวรรณ เสรีรัตน์, ปริญ ลักษิตานนท์ และ ศุภร เสรีรัตน์. (2541). การบริหารตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ :

ธีระฟิลม์และเซเท็กซ์.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และ ศุภร เสรีรัตน์. (2546). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ : ธรรมสาร.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และ พิบูล ทีปะปาล. (2549). การวิจัยการตลาด. กรุงเทพฯ : ธรรมสาร.

ศิวัตรา พิพัฒน์ไชยศิริ. (2555). ปัจจัยในการเลือกใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำเส้นทางภายในประเทศ

ของผู้โดยสารชาวไทย. KKU Research Journal, 11(2), 154-167.

ศิวัตรา พิพัฒน์ไชยศิริ. (2556). ปัจจัยในการเลือกใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำเส้นทางภายในประเทศ

ของผู้โดยสารชาวไทย. ขอนแก่น : โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.

สมวงศ์ พงศ์สถาพร. (2546). เซอร์วิส มาร์เก็ตติ้ง. กรุงเทพฯ : นัท รีพับลิค.

สุภัชชา วิทยาคง. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความภักดีต่อตราสินค้าของสายการบินต้นทุนต่ำของ

ผู้ใช้บริการชาวไทย. สืบค้นเมื่อ 23 มีนาคม 2564, จาก http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/

thesis/2016/TU_2016_5802031020_5187_3970.pdf

สุรพงษ์ คงสัตย์. (2551). การหาค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม (IOC). สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม

, จาก http://mcu.ac.th/site/

โสภิตา รัตนสมโชค. (2558). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการ

ใช้บริการรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ. สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม 2564, จาก http://ethesis

archive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU_2015_5702030171_3559_2002.pdf

อิสรีย์ อนันต์โชคปฐมา. (2558). ส่วนประสมทางการตลาดและการตัดสินใจซื่อสินค้าใน Line giftshop.

สืบค้นเมื่อ 24 มีนาคม (2564), จาก http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU_

_5702030460_3593_2059.pdf

อุทัยวรรณ สายพัฒนะ และ ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์. (2547). Collinearity. วารสารปาริชาต, 17(1), 55-61.

อุไร บุตรทองดี. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้บริการของผู้โดยสารของสายการบินต้นทุนต่ำเส้นทาง

เชียงใหม่-กรุงเทพ. (การศึกษาค้นอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

Armstrong, G. & Kotler, P. (2009). Marketing : An introduction. (9th ed.). New Jersey :

Pearson Prentice Hall.

Cochran, W. G. (1977). Sampling techniques. (3rd ed.). New York : John Wiley & Sons.

Hair, J., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis. (7th ed.).

Upper Saddle River, New Jersey : Pearson Education International.

Kotler, P., Ang, S. H., Leong, S. M., & Tan, C. T. (1999). Marketing management : An Asian perspective.

(2nd ed.). New Jersey : Prentice Hall.

Senardidhikrai, P. (2020). 5 Assumption for regression. Retrieved from https://www.smartresearchthai.

com/post/5-assumption-for-regression

Downloads

เผยแพร่แล้ว

07-12-2021

How to Cite