การพัฒนาการบริหารกิจกรรมชมรมวิชาชีพแบบมีส่วนร่วม เพื่อพัฒนาสมาชิก องค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) วิทยาลัยเทคนิคเทิง

ผู้แต่ง

  • ปิยะพร พูลเพิ่ม

คำสำคัญ:

กิจกรรมชมรมวิชาชีพ, สมาชิกองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.)

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาการบริหารกิจกรรมชมรมวิชาชีพแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาสมาชิกองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) วิทยาลัยเทคนิคเทิง ดำเนินการวิจัย แบ่งออกเป็น 5 ตอน ตอนที่ 1 ศึกษาสภาพและแนวทางการพัฒนาการบริหารกิจกรรมชมรมวิชาชีพแบบมี   ส่วนร่วม เพื่อพัฒนาสมาชิกองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) วิทยาลัยเทคนิคเทิง ตอนที่ 2 การสร้างรูปแบบการพัฒนาการบริหารกิจกรรมชมรมวิชาชีพแบบมีส่วนร่วม เพื่อพัฒนาสมาชิกองค์การ     นักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) วิทยาลัยเทคนิคเทิง ตอนที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบ ตอนที่ 4 การนำรูปแบบไปใช้จริง และตอนที่ 5 การประเมินผลการพัฒนาการบริหารกิจกรรมชมรมวิชาชีพแบบมีส่วนร่วม เพื่อพัฒนาสมาชิกองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) วิทยาลัยเทคนิคเทิง ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบที่สร้างขึ้นมี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการพัฒนาการบริหารกิจกรรมชมรมวิชาชีพแบบมีส่วนร่วม 2) คณะกรรมการพัฒนาการบริหารกิจกรรมชมรมวิชาชีพแบบมีส่วนร่วม 3) การสร้างภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนากิจกรรมชมรมวิชาชีพ 4) กระบวนการพัฒนาการบริหารกิจกรรมชมรมวิชาชีพแบบมีส่วนร่วม และ 5) ผลการดำเนินงานการพัฒนาการบริหารกิจกรรมชมรมวิชาชีพแบบมีส่วนร่วม และคุณภาพผู้เรียนด้านการเป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข พบว่า ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนา เพิ่มขึ้นจำนวน 14 แห่ง

References

คติ ปรีชา. (2560). การบริหารกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของสถาบันการอาชีวศึกษาจังหวัดลำปาง.

(วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. ลำปาง.

ชนะจิต คำแผง. (2560). การศึกษาสภาพและแนวทางการดำเนินงานกิจกรรมนักเรียน นักศึกษาตามระเบียบ

องค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษา ภาคเหนือ. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยราชภัฏ

พิบูลสงคราม. พิษณุโลก.

ณัฐนนท์ ค้าขาย. (2562). การบริหารจัดการงานกิจกรรมนักเรียนแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนเทพบดินทร์

วิทยาเชียงใหม่. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

เชียงใหม่.

ณัฐสิฏ รักษ์เกียรติวงศ์. (2560). การปฏิรูปอาชีวศึกษาของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา

ประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ).

ดวงกมล สินเพ็ง. (2555). การพัฒนาผู้เรียนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ : การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน

เป็นศูนย์กลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 2

ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ : วี. พริ้นท์ (1991).

บัณฑิตย์ สิงห์ช่างชัย. (2561). การพัฒนาระบบบริหารงานกิจกรรมนักศึกษาแบบมีส่วนร่วมของ

สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎี

บัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. นนทบุรี.

วรากร หิรัญมณีมาศ. (2559). การพัฒนารูปแบบการบริหารองค์การช่างเทคนิคในอนาคตแห่งประเทศไทย

ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยนเรศวร. 15(4), 8.

วัลลีย์ อาศัย. (2561). การประเมินโครงการส่งเสริมการพัฒนาสมาชิกองค์การนักวิชาชีพในอนาคต

แห่งประเทศไทย (อวท.) วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก. สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2562, จาก

http://www.bantak.ac.th / web/index .php/2015-08-24-04-15-27/2019-12-17-08-07-48.

สนธิรัก เทพเรณู. (2560). การบริหารจัดการศึกษาตามยุทธศาสตร์ใหม่ของการพัฒนาระบบราชการ.

กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษา.

สะเทือน สรรพจักร. (2562). การบริหารกิจกรรมชมรมวิชาชีพแบบมีส่วนร่วม ตามระเบียบองค์การ

นักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย วิทยาลัยอาชีวศึกษาภูเก็ต. สืบค้นเมื่อ

พฤศจิกายน 2563, จาก https://www.xn--12cg5gc1e7b.com/23831/.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2560). ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ว่าด้วยองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2557 (ปรับปรุง พ.ศ. 2560).

กรุงเทพฯ : สำนักงานฯ.

เสกสรรค์ แสงศิวาพร. (2560). การบริหารงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัด

ลำปาง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตร

มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. ลำปาง.

อรรถพร อินถาสาน. (2561). สภาพการบริหารกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.

(วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. ลำปาง.

Bloomstran, S. (2002). Unlocking parent potential in student activities. Education Digest, 67(5), 34-40.

Getzels, J.W. & Guba, E.G. (1968). Educational administration and a social process. New York :

Harper and Row.

Keeves, P.J. (1988). Educational research, methodology and measurement : An international handbook.

Oxford : Pergamon Press.

Koontz, H.D. & O’Donnell, C. (1972). Principles of management. New York : McGraw-Hill.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

07-12-2021

How to Cite