ภูมิทัศน์ทางภาษาของชุมชนเมืองเอก รังสิต จังหวัดปทุมธานี

ผู้แต่ง

  • นภัสสร ปลื้มสุทธิ์ นักศึกษาปริญญาปริญญาโท สาขาวิชาอังกฤษเพื่อวิชาชีพ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • นครเทพ ทิพยศุภราษฏร์ อาจารย์ประจำหลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษเพื่อวิชาชีพ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • กรกฤช มีมงคล อาจารย์ประจำศูนย์ภาษาและบริการวิชาการ วิทยาลัยนานาชาติเพื่อศึกษาความยั่งยืน มหาวิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คำสำคัญ:

ความหลากหลายทางภาษา, ชุมชนเมืองเอก, ภาษากับธุรกิจการค้า, ภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์, รังสิต

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจำแนกภาษาบนป้ายธุรกิจการค้าและบริการ และเพื่อวิเคราะห์ภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์บนป้ายธุรกิจการค้าและบริการที่ปรากฏในชุมชนเมืองเอก รังสิต จังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ป้ายธุรกิจการค้าและบริการบริเวณถนนเอกทักษิณ (เมืองเอก) จำนวน 70 ป้าย จากนั้นนำข้อมูลมาคัดแยกประเภทของธุรกิจและบริการแล้วนำมาวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้ค่าความถี่และค่าร้อยละ โดยประยุกต์แนวคิดด้านภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์ ผลการศึกษาการจำแนกป้ายตามธุรกิจและบริการพบว่า มีป้ายธุรกิจสินค้าเพื่อการบริโภคมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ป้ายธุรกิจการบริการทางการแพทย์และความงาม ในส่วนของการศึกษาความหลากหลายทางภาษา พบว่าป้ายมี 3 รูปแบบ ได้แก่ ป้ายหนึ่งภาษา ป้ายสองภาษา และป้ายสามภาษา โดยป้ายสองภาษาที่มีภาษาอังกฤษและภาษาไทยมีจำนวนมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 51.4 ด้านขนาดและความเด่นชัดของตัวอักษรพบว่า ตัวอักษรภาษาอังกฤษมีขนาดใหญ่และเด่นชัดมากที่สุด ด้านหน้าที่ของภาษาพบว่าภาษาที่ปรากฏบนป้ายทำหน้าที่เชิงข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดสินค้าและบริการมากที่สุด รองลงมาเป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับช่องทางการติดต่อ ส่วนหน้าที่เชิงสัญลักษณ์พบว่าป้ายที่ชื่อร้านไม่มีความสอดคล้องกับธุรกิจการค้าและบริการพบมากกว่าแบบชื่อร้านมีความสอดคล้องกับธุรกิจร้านค้าและบริการบางส่วน ผลการศึกษายังแสดงให้เห็นว่าชุมชนเมืองเอกเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางภาษา เนื่องด้วยอยู่ใกล้สถาบันการศึกษาขนาดใหญ่หลายแห่งจึงทำให้เป็นแหล่งชุมชนที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นทั้งคนไทยและต่างประเทศ

References

กรกฤช มีมงคล. (2564). ภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์ของซอยนานาเหนือและซอยเอกมัย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 12(1), 66-88.

จารญา อนันตะวัน และศุภกิต บัวขาว. (2565). การศึกษาภูมิทัศน์ภาษาศาสตร์ของตลาดท่าเสด็จ จังหวัด

หนองคาย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 13(1), 101-134.

จริยา แสงเย็น. (2558). ภูมิทัศน์ทางภาษาจากป้ายโฆษณาในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี. วารสารพื้นถิ่น

โขง ชี มูล, 1(2), 13-36.

ถนอมจิตต์ สารอต และสราวุฒิ ไกรเสม. (2562). ความเป็นพหุภาษาในชุมชนเมือง: กรณีศึกษาความสัมพันธ์

ระหว่างภูมิทัศน์ทางภาษากับธุรกิจการค้าย่านนานาฝั่งเหนือ. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 38(1),

-40.

พิชัย แก้วบุตร และนพวรรณ เมืองแก้ว. (2563). ป้ายและชื่อธุรกิจการค้าในท่าอากาศยานนานาชาติสุราษฎร์

ธานี: การศึกษาตามแนวภูมิทัศน์เชิงภาษาศาสตร์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 11(2), 225-253.

ธิดารัตน์ สินธุรัตน์. (2552, 17-20 มีนาคม). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการขยายตัวของศูนย์การค้าย่านรังสิต จังหวัด

ปทุมธานี. [เอกสารนำเสนอ]. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47: สาขา

สถาปัตยกรรมและวิศวกรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ, ประเทศไทย.

มูฮำหมัดสุกรี หะยีสะนิ และสมิทธ์ วงศ์วิวัฒน์. (2565). พหุภาษาในเมืองชายแดนใต้ กรณีศึกษาภูมิศาสตร์ทาง

ภาษากับป้ายธุรกิจการค้าในเขตอำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัย

ทักษิณ, 35(2), 185-202.

สิริณทร พิกุลทอง. (2554). ภาษาบนป้ายพาณิชย์ของสถานประกอบการย่านถนนพระอาทิตย์. ดำรงวิชาการ,

(2), 63-85.

อรอนงค์ สกุลอมรบดี และกิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ. (2554). อิทธิพลต่อการเลือกซื้อเครื่องสำอางของ

นักศึกษามหาวิทยาลัยในจังหวัดปทุมธานี. วารสาร การเงิน การลงทุน การตลาด และ

การบริหารธุรกิจ, 1(3), 23-38.

Backhaus, P. (2006). Multilingualism in Tokyo: A Look into the Linguistic Landscape.

International Journal of Multilingualism, 3(1), 52-66.

Rhekhalilit, K. (2020). Language Choice of Public Sgnage in Thai Universities A Case Study of

Chulalongkorn University and Kasetsart University. Manutsayasat Wichakan, 27(2),

-341.

Landry, R., & Bourhis, R. (1997). Linguistic Landscape and Ethnolinguistic Vitality: An Empirical

Study. Journal of Language and Social Psychology, 16(1), 23-49.

Yanhong, M. & Rungruang, A. (2013). Chiang Mai’s Linguistic Landscape in the Tourist

Attraction Areas: A Study on the English Language Use on Signs. The Golden Teak:

Humanity and Social Science Journal, 19(2), 59-70.

Meemongkol, G. (2021). Linguistic Landscape of Soi Nananua ans Soi Ekamai. Humanity and

Social Science Journal Ubon Ratchathani University,12(1), 66-88.

Anantawan, C., & Buakaw, S. (2022). A Linguistic Landscape Study of Tha Sadet Market, Nong

Khai Province. Humanity and Social Science Journal Ubon Ratchathani University,

(1), 101-134.

Seangyen, C. (2015). Linguistic Landscape on Billboards in Mueang District, Udon Thani

Province. Mekong Chi Mun Art and Culture Journal, 1(2), 13-36.

Sarot, T., & Kraisame, S. (2019). Urban Multilingualism: A case study of the relationship

between linguistic landscape and business in North Nana. Journal of Language and

Culture, 38(1), 25-40.

Kaewbut, P., & Muangkaew, N. (2020). Linguistic Landscape Study of Labels and Business

Name: A Case Study of Surat Thani. Humanity and Social Science Journal Ubon

Ratchathani University, 11(2), 225-253.

Sindhurat, T. (2009, 17-20 March). Factors Affecting the Expansion of Rangsit District

Shopping Center, Pathum Thani Province. [Paper presentation]. Proceedings of 47th

Kasetsart University Annual Conference: Architecture and Engineering, Bangkok,

Thailand.

Hayeesani, M., & Vongvivut, S. (2022). Multilingualism in Southern Border City: a Case Study

of Linguistic Landscape of Commercial Shop Signs in Yala City, Yala Province,

Thailand. Parichart Journal, Thaksin University, 35(2), 185-202.

Pikulthong, S. (2011). Languages on Commercial Signs along Phra Athit Road, Bangkok.

Damrong Journal of The Faculty of Archaeology Silpakorn University, 10(2), 63-85.

Sakulaobromdee, O., & Khongsawatkiat, K. (2011). Marketing Factors Influencing Buying

Cosmetic of Students in Universities Located in Pathumthani Province. Journal of

Finance, Investment, Marketing and Business Management, 1(3), 23-38.

Backhaus, P. (2006). Multilingualism in Tokyo: A Look into the Linguistic Landscape.

International Journal of Multilingualism, 3(1), 52-66.

Rhekhalilit, K. (2020). Language Choice of Public Sgnage in Thai Universities A Case Study of

Chulalongkorn University and Kasetsart University. Manutsayasat Wichakan, 27(2),

-341.

Landry, R., & Bourhis, R. (1997). Linguistic Landscape and Ethnolinguistic Vitality: An Empirical

Study. Journal of Language and Social Psychology, 16(1), 23-49.

Yanhong, M. & Rungruang, A. (2013). Chiang Mai’s Linguistic Landscape in the Tourist

Attraction Areas: A Study on the English Language Use on Signs. The Golden Teak:

Humanity and Social Science Journal, 19(2), 59-70.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

25-12-2023

How to Cite