องค์ประกอบเรื่องเล่าอาหารเมืองเพ็ชร์: เมืองสามรส

ผู้แต่ง

  • กิตติพงษ์ มายา สาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการอาหาร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • รำพึง ยมศรีทัศน์ สาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการอาหาร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • อินท์ธีมา หิรัญอัครวงศ์ สาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการอาหาร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • ศันสนีย์ ทิมทอง สาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการอาหาร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • ศุภัคษร มาแสวง สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • ณนนท์ แดงสังวาลย์ สาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการอาหาร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

คำสำคัญ:

เรื่องเล่า, เรื่องเล่าอาหาร, จังหวัดเพชรบุรี, เมืองสามรส, การตลาดเชิงเนื้อหา

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบเรื่องเล่าอาหารเมืองเพ็ชร์เมืองสามรสเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบใช้แนวทางการสัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลหลักเป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในการทำงานหรือการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเล่าอาหารพื้นถิ่นจังหวัดเพชรบุรีหรือการท่องเที่ยว ซึ่งพบว่ามีผู้ให้ข้อมูลหลักที่มีความเชี่ยวชาญที่สอดคล้องกับโจทย์การวิจัย จำนวน 8 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้างและเครื่องบันทึกเสียง จากนั้น ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงประเด็นเพื่อหาข้อสรุป ผลการศึกษา พบว่า องค์ประกอบเรื่องเล่าอาหารเมืองเพ็ชร์ เมืองสามรส ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 เรื่องเล่ารู้แหล่งที่มาของอาหารประกอบด้วยความปลอดภัยของอาหาร ระบบนิเวศของอาหาร และเรื่องเล่าเส้นทางการกิน องค์ประกอบที่ 2 เรื่องเล่าที่มาจากวัตถุดิบในท้องถิ่น ประกอบด้วยตลาดเกษตรกร องค์ประกอบที่ 3 เรื่องเล่าอาหารสร้างแรงบันดาลใจในมิติของสังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม ประกอบด้วยมรดกทางอาหารและภูมิทัศน์อาหาร และองค์ประกอบที่ 4 เรื่องเล่ากรรมวิธีการทำอาหารและการออกแบบ ประกอบด้วยโภชนาการที่กล่าวถึงคุณค่าทางโภชนาการของวัตถุดิบพื้นถิ่น และอาหารสุขภาพ

References

Bassano, C., Barile, S., Piciocchi, P., Spohrer, J. C., Iandolo, F., & Fisk, R. (2019). Storytelling about places: Tourism marketing in the digital age. Cities, 87, 10-20.

Boonsrinugul, S., Rattanawiboonsom, V. & Yawised, K. (2023). The Model on Administration and Management of the Risk for Fuel Stations Under Fuel Smuggling in Songkhla Province. Journal of Roi Kaensarn Academi, 8(8), 141- 155.

Ellis, A., Park, E., Kim, S., & Yeoman, I. (2018). What is food tourism. Tourism Management, 68(October), 250–263.

Jomkhwun, S., Bundit, P. & Watcharin, S. (2021). Casual Factors Influencing Tourist Loyalty to the Consumption of Local Food in the Eastern Economic Corridor. College of Innovation and Management, Suan Sunandha Rajabhat Unversity, Thailand.

Jutamas, W. Suthima, S. & Kritsakorn, S. (2023). Storytelling Through Food. Administration and Capital Management Unit for Enhancement of National Competitiveness (NEDA).

Kim, M. (2020). A systematic literature review of the personal value orientation construct in hospitality and tourism literature. International Journal of Hospitality Management, 89, 1-14.

Methavee Sreerattanachotchai, Supaporn Sudnongbua, Withaya Kulsomboon and Chuenjid Kongkaew. (2018). Management of Adverse Experiences from the Use of Herbal Medicines in Consumers’ Perspectives. Thai Journal of Practice, 10(2), 421-436.

Narinsiri, C. (2017). Factor Affecting to the Travel Behavior of the Foreign Female Tourist in Bangkok. Graduate School of Tourism Management, National Institute of Development Administration.

Phetchaburi Provincial Office Phetchaburi Provincial Strategy Group. (2018). Phetchaburi Province Development Plan.

Posri, K. (2017). Impact of Culture, Social Media, and Online Customer Behavior on Decision to Choose Tourism Attraction of Consumers in Bangkok. Graduate School, Bangkok University.

Ratmanee, N., Parita, R., Porntiwa, P., Arisa, W., Jirawat, R. & Touchakorn, S (2021). Satisfaction on Impolite Content Marketing affecting Consumer Purchasing Decision on Social Media in Thailand. Journal of Business Administration, Maejo University, 3(1), 57-73.

Schnittker, R., Marshall, S., Horberry, T., & Young, K. L. (2018). Human factors enablers and barriers for successful airway management–an in‐depth interview study. Anaesthesia, 73(8), 980-98.

Wanna, S. & Charoenchai, A. (2017). Food-quality factors and attitudes that influence inbound tourist’s perception of street food safety. Case study: Khao San Road, Bangkok. Graduate School of Tourism Management, National Institute of Development Administration.

Wiphada, N. (2015). Factors affecting consumer purchasing behavior on food for thai tourists in amphawa floating market samut samut Songkhram province. Graduate School, Silpakorn University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

25-12-2023

How to Cite