กูเกิ้ลแอปพลิเคชั่น : นวัตกรรมทางการศึกษาสำหรับครูยุคศตวรรษที่ 21
Main Article Content
บทคัดย่อ
ในบทความนี้ผู้เขียนกล่าวถึงรูปแบบของการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมทางการศึกษาในยุคดิจิตอลมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกและความน่าสนใจ และเพิ่มประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับครูผู้สอนให้สมกับครูมืออาชีพยุคดิจิตอล รวมทั้งส่งเสริมการเรียนรู้การทำงานร่วมกันโดยไร้ขีดจำกัดของเวลา สถานที่ และทุกรูปแบบของเทคโนโลยียุคดิจิตอล ที่สามารถเชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ ภายใต้การจัดเก็บข้อมูล การแลกเปลี่ยนข้อมูล ในระบบการจัดข้อมูลบนคราวน์ การติดต่อสื่อสาร กำหนดตารางนัดหมาย สั่งงาน ส่งงาน ทดสอบ การจัดกิจกรรมกลุ่มบนเอกสารเดียวกัน รวมทั้งครูผู้สอนสามารถประยุกต์ใช้งานในรูปแบบต่างๆเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานได้อีกด้วย
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิชาการ
References
กิดานันท์ มลิทอง.(2540).เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม.กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
คณาจารย์ภาควิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา.(2539).เทคโนโลยีการศึกษา. กรุงเทพฯ:คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง.(ออนไลน์).การเรียนรู้ในยุคสมัยหน้า : ตอนรูปแบบและทฤษฎีการเรียนรู้อนาคต. ค้นเมื่อ 12 มกราคม 2562.จาก :https://thanompo.edu.cmu.ac.th/load/journal/50-51/next-generation%20of%20learning.pdf.
บุญเกื้อ ควรหาเวช.(2543).นวัตกรรมการศึกษา.(พิมพ์ครั้งที่ 5).นนทบุรี : SR Printing.
พันธุ์อาจ ชัยรัตน์.(2547).บทนำเบื้องต้นของการจัดการนวัตกรรม.การจัดการนวัตกรรมสำหรับผู้บริหาร. กรุงเทพฯ:สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
วรวิทย์ นิเทศศิลป์.(2551).สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้.ปทุมธานี: สกายบุ๊กส์.
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ และคณะ.(2533).นวัตกรรม : ความหมายประเภทและความสำคัญต่อการเป็นผู้ประกอบการ.[ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์].วารสารบริหารธุรกิจ.33(128),54.
สมบูรณ์ สงวนญาติ.(2534).เทคโนโลยีทางการเรียนการสอน.กรุงเทพฯ:หน่วยการศึกษานิเทศกรมการฝึกหัดครู.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ(2560).แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ(พ.ศ.2560-2579).กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา.
สำนักงานเลขาธิการการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.(2560). แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ(พ.ศ.2560-2579).กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สุคนธ์ สินธพานนท์.(2553).นวัตกรรมการเรียนการศึกษา...เพื่อพัฒนาคุณภาพของเยาวชน.(พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ:9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.
Google.Inc,(2019).Google App for Deucation.Retrieved : January 12,2019.Form :
https://deu.google.com/products/gsuite-for-education/?modal_active=none
คณาจารย์ภาควิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา.(2539).เทคโนโลยีการศึกษา. กรุงเทพฯ:คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง.(ออนไลน์).การเรียนรู้ในยุคสมัยหน้า : ตอนรูปแบบและทฤษฎีการเรียนรู้อนาคต. ค้นเมื่อ 12 มกราคม 2562.จาก :https://thanompo.edu.cmu.ac.th/load/journal/50-51/next-generation%20of%20learning.pdf.
บุญเกื้อ ควรหาเวช.(2543).นวัตกรรมการศึกษา.(พิมพ์ครั้งที่ 5).นนทบุรี : SR Printing.
พันธุ์อาจ ชัยรัตน์.(2547).บทนำเบื้องต้นของการจัดการนวัตกรรม.การจัดการนวัตกรรมสำหรับผู้บริหาร. กรุงเทพฯ:สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
วรวิทย์ นิเทศศิลป์.(2551).สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้.ปทุมธานี: สกายบุ๊กส์.
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ และคณะ.(2533).นวัตกรรม : ความหมายประเภทและความสำคัญต่อการเป็นผู้ประกอบการ.[ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์].วารสารบริหารธุรกิจ.33(128),54.
สมบูรณ์ สงวนญาติ.(2534).เทคโนโลยีทางการเรียนการสอน.กรุงเทพฯ:หน่วยการศึกษานิเทศกรมการฝึกหัดครู.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ(2560).แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ(พ.ศ.2560-2579).กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา.
สำนักงานเลขาธิการการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.(2560). แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ(พ.ศ.2560-2579).กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สุคนธ์ สินธพานนท์.(2553).นวัตกรรมการเรียนการศึกษา...เพื่อพัฒนาคุณภาพของเยาวชน.(พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ:9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.
Google.Inc,(2019).Google App for Deucation.Retrieved : January 12,2019.Form :
https://deu.google.com/products/gsuite-for-education/?modal_active=none