คุณภาพเครื่องมือแบบสอบถาม : Validity กับ Reliabilty ในการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์

Main Article Content

กิตติพงษ์ พิพิธกุล

บทคัดย่อ

การวิจัยในทางรัฐประศาสนศาสตร์นั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้การวิจัยเรื่องดังกล่าวมีคุณภาพและความน่าเชื่อถือ ส่งผลให้ผลการวิจัยมีความตรงทั้งภายในและภายนอก แบบสอบถามจงเป็นเครื่องมือสำคัญประการหนึ่ง ที่มีคุณภาพในเรื่องความตรงตามเนื้อหา ที่มีค่าข้อคำถาม อยู่ระหว่าง 0.50-1.00 และต้องมีค่าความตรงตามโครงสร้างต้องมีค่า MRSEA ตั้งแต่ 0.05 ขึ้นไป นอกจากนี้แบบสอบถามต้องมีค่าความเชื่อมั่น มากกว่า 0.70 ขึ้นไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กัลยา วานิชบัญชา. (2548). สถิติสำหรับงานวิจัย. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสถิติ คณะพานิชยศาสตร์และ การบัญชีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กิ่งพร ทองใบ. (2546). “ตัวแปรและการวัด”. เอกสารการสอนชุดวิชาขอบข่ายและวิธีวิจัยทางรัฐ ประศาสนศาสตร์หน่วย 1-8. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์.

กิตติพงษ์ พิพิธกุล. (2559). ระเบียบวิธีการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์. เอกสารประกอบการเรียน การสอน : โรเนียวเย็บเล่ม.

บุญใจ ศรีสถิตนรากูล. (2555). การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย: คุณสมบัติการวัดเชิง จิตวิทยา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์ (2540). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์และทำปกเจริญผล.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2553). เทคนิคการสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : ศรีอนันต์การพิมพ์.

เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย. (2546). หลักการและการใช้สถิติการวิเคราะห์ตัวแปรหลายตัวแปรสำหรับ การวิจัยทางการพยาบาล. พิมพ์ครั้งที่ 3. สงขลา: จ.เอกสาร.

พูลพงศ์ สุขสว่าง. (2556). โมเดลสมการโครงสร้าง (STRUCTURAL EQUATION MODELING). พิมพ์ ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด.

รัตนะ บัวสนธ์. (2540). การประเมินโครงการ การวิจัยเชิงประเมิน. กรุงเทพฯ : คอมแพคท์พริ้น จำกัด.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2540). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรง พิมพ์เลี่ยงเชียง.

สุวิมล ติรกานันท์. (2546). การใช้สถิติในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิมล ติรกานันท์. (2550). การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางสู่การ ปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานมาตรฐานการศึกษา. (2545). “ชุดวิชาการประเมินเพื่อพัฒนา”. เอกสารชุดการเรียนรู้ด้วย ตนเองในประกอบการเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตการจัดการและประเมิน โครงการ. สำนักงานสภาสถาบันราชภัฎ กระทรวงศึกษาธิการ.

สำเริง จันทรสุวรรณ. (2547). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. ภาควิชาสังคมวิทยาและมนุษย์ วิทยาคณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Hair, Joseph F., and Others. (1998). Multivariate Data Analysis. Fifth Edition. New Jersey : Practic-Hall International, Inc.