ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดอุดรธานี

Main Article Content

ชัยนาท ชัยมะลิ
สืบชาติ อันทะไชย

บทคัดย่อ

           การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง การมุ่งเน้นตลาดและการประกอบการของวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม(SMEs)และ 2) สร้างสมการพยากรณ์ของความสำเร็จของ SMEsประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ประกอบการ SMEs ที่เป็นเจ้าของกิจการหรือตัวแทน ภายในจังหวัดอุดรธานีสุ่มตัวอย่างแบบโควต้าจำนวน 280 ตัวอย่างได้แก่ ผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs หรือตัวแทนผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs ในจังหวัดอุดรธานี จำนวน 8,281 ราย ลักษณะแบบสอบถามเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ด้วยการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน พบว่า1. ปัจจัยการมุ่งเน้นตลาดและการประกอบการมีความสัมพันธ์ทางบวก กับ ความสำเร็จของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดอุดรธานี โดยมีความสัมพันธ์ในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01และ 2. สร้างสมการพยากรณ์โดยใช้ผลการดำเนินงานของวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ในจังหวัดอุดรธานี เป็นตัวแปรเกณฑ์ ตัวพยากรณ์ที่มีค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยของตัวพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบและคะแนนในรูปมาตรฐาน คือ ปัจจัยความกล้าเสี่ยง ปัจจัยการจัดการเชิงรุก และปัจจัยความเชื่อมั่นในตนเอง ถือเป็นปัจจัยการประกอบการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมในจังหวัดอุดรธานี ที่สามารถร่วมพยากรณ์ผลการดำเนินงานของวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมในจังหวัดอุดรธานี ได้ร้อยละ 55.50 ดังนี้


           สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ
                    gif.latex?\hat{Y}&space;=&space;.92&space;+&space;.33(X_{6})&space;+&space;.21(X_{7})&space;+&space;.22(X_{4})
           สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานปัจจัย
                 gif.latex?\hat{Z}&space;=&space;.36(Z_{6})&space;+&space;.24(Z_{7})&space;+&space;.21(X_{4})

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กตัญญู หิรัญญสมบูรณ์. (2546).การจัดการธุรกิจขนาดย่อม. กรุงเทพมหานคร: เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2545). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติเพื่อการตัดสินใจ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชุติมา หวังเบ็ญหมัด และธนัชชา บินดุเหล็ม. (2555). ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 2557 (1), 109-123.

ชูชัย สมิทธิไกร. (2548). การเปรียบเทียบคุณลักษณะความเป็นผู้ประกอบการระหว่างผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลางที่ประสบความสําเร็จสูงและตํ่าในจังหวัดเชียงใหม่.มนุษยศาสตร์สาร, 6(2),28-43.

ปฏิมา ถนิมกาญจน์. (2554). ความพร้อมของทรัพยากร และความสามารถเชิงพลวัต. วารสารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน,4(1), 86-94.

ฝนทิพย์ ฆารไสว ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ และ ไว จามรมาน. (2555). การศึกษาคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จของธุรกิจโรงแรมในจังหวัดภาคเหนือตอนล่างของไทย. วารสารวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร,7(1),39-50.

มนตรี พิริยะกุล และ บุญฑวรรณ วิงวอน. (2553). ตัวแบบเส้นทางPLS ของปัจจัยพหุกลุ่มในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม. วารสารวิจัย มข.ฉบับสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์(ฉบับธุรกิจและ เศรษฐกิจ),1-16.

ยุพิน นิลวลัยกุล. (2541) การวิเคราะห์องค์ประกอบปัจจัยที่ส่งผลให้บุคคลประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพอิสระในเขตภาคตะวันออก.(วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์ สาขาจิตวิทยาการแนะแนว, มหาวิทยาลัยบูรพา).

รุ่งนภา ต่ออุดม. (2550). ศึกษาปัจจัยความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม SMEs ในอุตสาหกรรมการเกษตร ภาคการค้า ในจังหวัดฉะเชิงเทรา.(การค้นคว้าอิสระสาขาบริหารธุรกิจ, บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต).

ศรันญา แสนคำ. (2012). การศึกษาคุณลักษณะความเป็นผู้ประกอบการของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเพื่อความสําเร็จของธุรกิจในจังหวัดเชียงราย. พิฆเนศวร์สาร, 8( 1), 93-100.

สํานักงานพาณิชย์จังหวัดอุดรธานี. (2558).SMEs ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.สืบค้นวันที่ 18 สิงหาคม 2562 ,https://sme.go.th/upload/mod_download/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%204%20%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%20SMEs%20%E0%B8%9B%E0%B8%B5%202556.pdf

สํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม.(2556).รายงานสถานการณ์ SME.สืบค้นวันที่ 18 สิงหาคม 2562, http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER2/DRAWER039/GENERAL/DATA0000/00000429.PD

สุธีรา อะทะวงษา และสมบูรณ์ สัตยารักษ์วิทย์ (2557). ศึกษาคุณลักษณะของการเป็นผู้ประกอบการ และลักษณะของสถานประกอบการที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของประเทศไทย.กรุงเทพมหานคร:สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

อรนุช อุปนันท์, สืบชาติ อันทะไชย และ พนา ดุลยพัชร. (2562). อิทธิพลเชิงสาเหตุของส่วนผสมทางการตลาดบริการที่มีต่อการรับรู้คุณค่า ความพึงพอใจและความภักดีของผู้บริโภคของร้านค้าเครื่องประดับอัญมณี. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 8(2), 74-86.

อังสนา ประสี และขจรวรรณ อิฐรัตน์. (2555). ปัญหาการดำเนินงานและความต้องการการ สนับสนุนของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดนครสวรรค์. วารสารการจัดการ,5(1), 83-93.

Avlonnitis, G.J. and Salavou, H.E. (2007). Entrepreneurial orientation of SMEs, product innovativeness, and performance. Journal of Business Research, 60,566-575.

Baker, W.E. and Sinkula, J.M. (2009). The Complementary Effects of Market Orientation and Entrepreneurial Orientation on Profitability in Small Businesses. Journal of Small Business Management, 47(4), 443-464.

Caruana, A., Pitt, L. & Berthon, P. (1999). Excellence-Market Orientation Link: Some Consequences for Service Firms, Journal of Business Research, 44(1), 5-15.

Deng, S. and Dart, J. (1999). The market orientation of Chinese enterprises during a time of transition. European Journal of Marketing. 33 (5/6), 631-654.

Greenley, G. (1995). Market Orientation and Company Performance: Empirical Evidence From UK Companies, British Journal of Management, 6(1), 1-13.

Jones, R. and Rowley, J. (2009). Presentation of a generic “EMICO” framework for research exploration of entrepreneurial marketing in SMEs Journal of Research in Marketing and Entrepreneurship,11(1), 5-21.

Kohli, A.K., Jaworski, B.J. and Kumar, A. (1993). MARKOR: a measure of market orientation. Journal of Marketing Research,30 (November), 467-77.

Kwak, H., Jaju, A., Puzakova, M. and Rocereto, J. (2013).The connubial relationship between market orientation and entrepreneurial orientation. Journal of Marketing Theory and Practice, 21(2), 141-161.

Lee, S.& Peterson, S.(2000). Culture, entrepreneurial orientation and global competitiveness. Journal of World Business, 35(4), 401-416.

Lee, T. S.and Tsai, H. J. (2005).The effects of business operation mode on market orientation, learning orientation and innovativeness. Industrial Management & Data Systems, 105(3), 325-348.

Lumpkin, G.T., Cogliser, C.C. and Schneider, D.R. (2009). Understanding and measuring autonomy: An entrepreneurship orientation perspective. Entrepreneurship Theory and Practice, 33, 47-69.

Miller, Danny. (1983). The correlates of entrepreneurship in three types of firms. Management Science, 29(7), 770-791.

Miles, Morgan P. & Covin, Jeffrey G. (2010).. Environmental Marketing: A Source of Reputational, Competitive, and Financial Advantage. Journal of Business Ethics, 23, 299-311.

Narver, J.C. and Slater, S.F. (1990). The effect of a market orientation on business profitability. Journal of Marketing, 54(October), 20-35.

Rauch, A., Wiklund, J., Lumpkin, G.T. and Frese, M. (2009). Entrepreneurship orientation and business performance: an assessment of past research and suggestions for the future. Entrepreneurship Theory and Practice, 33(3), 761-787.

Rhee, J., Park, T.and Lee, D.H. (2010). Drivers of innovativeness and performance for innovative SMEs in South Korea: Mediation of learning orientation. Technovation, 30, 65-75.

Slater, S.F. and Narver, J.C. (1995). Market orientation, and the learning organization. Journal of Marketing. 59(July): 63-74.

Wang, C. L. (2008). Entrepreneurial orientation, learning orientation, and firm performance. Entrepreneurship Theory & Practice, 32(4), 635-657.

Wiklund, J. (1999). The sustainability of the entrepreneurial orientation performance relationship. Entrepreneurship Theory & Practice, 24(1), 37-48.