แนวปฏิบัติทางด้านจริยธรรมในธุรกิจแฟรนไชส์

Main Article Content

ศิริพัฒน์ ศรีจันทร์

บทคัดย่อ

จริยธรรมในการทำธุรกิจแฟรนไชส์เป็นสิ่งที่สำคัญ ประการที่ 1 ช่วยให้แฟรนไชส์ซอร์มีความสำนึกในหน้าที่และความรับผิดชอบในการดำเนินธุรกิจแฟรนไชส์อย่างมืออาชีพ ประการที่ 2 ช่วยสร้าง ความเป็นธรรมและป้องกันอันตรายแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในธุรกิจแฟรนไชส์ ประการที่ 3 ช่วยส่งเสริมการทำธุรกิจ แฟรนไชส์ให้มีสินค้าและบริการที่มีคุณภาพและมีความสามารถทางการแข่งขันในธุรกิจอย่างยุติธรรม ประการที่ 4 ช่วยเพิ่มยอดขายและลดต้นทุนในการดำเนินธุรกิจแฟรนไชส์ และประการที่ 5  ช่วยสร้างภาพลักษณ์ ชื่อเสียง ความน่าเชื่อถือ และสร้างความเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน ดังนั้นแนวปฏิบัติทางด้านจริยธรรมเพื่อช่วยให้แฟรนไชส์ซอร์สามารถดำรงจริยธรรมในธุรกิจแฟรนไชส์นั้นควรประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ 1) กำหนดจริยธรรมทางธุรกิจ 2)การดำเนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรมทางธุรกิจ และ 3) การเผยแพร่พฤติกรรมด้านจริยธรรมทางธุรกิจให้ประจักษ์

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กฤษณ์ กาญจนบัตร. (2549). คุณสมบัติแฟรนไชส์ซี. สืบค้นเมื่อ 31 มกราคม 2566, จาก [PDF slides]. SlideShare https://www.dbd.go.th/download/consumer3.pdf.

ทยากร สุวรรณปักษ์. (2556). จริยธรรมทางธุรกิจและผลการดำเนินงานของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดมุกดาหาร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(1), 46-66.

ทินพันธุ์ นาคะตะ. (2557). คุณธรรม จริยธรรมกับศีลธรรม: จากมุมมองของปรัชญา (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตยและการพัฒนา (โครงการจัดพิมพ์คบไฟ).

ทีมข่าวอาชญากรรม. (2565). ร้อง “ดีเอสไอ” เอาผิดผู้บริหารแฟรนไชส์ร้านสะดวกซักชื่อดัง หลอกลงทุนก่อนปิดกิจการหนี เสียหาย 100 ล้านบาท. สืบค้นเมื่อ 31 มกราคม 2566, จาก https://mgronline.com/crime/detail/9650000012911.

พรนพ พุกกะพันธุ์. (2545). จริยธรรมธุรกิจ ยุคโลกาภิวัตน์ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักท์ 2545.

พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2535). การพัฒนาจริยธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระศิลาศักดิ์ สุเมโธ, พระหาไทยน้อย ญาณเมธี, วิมลพร สุวรรณแสนทวี และ อุทัย ภูคดหิน. (2565). จริยธรรมนักการเมืองไทยในปัจจุบัน. วารสารรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย, 2(3), 129-138.

พิภพ วชังเงิน. (2546). จริยธรรมทางธุรกิจ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2542). การเปลี่ยนแปลงทางสังคม: ผลกระทบต่อค่านิยมและการศึกษาไทยในจริยธรรมกับการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มนตรี ศรีวงษ์. (2564). เรียนรู้จากข้อผิดพลาด แฟรนไชส์ร้านสะดวกซัก WashCoin. สืบค้นเมื่อ 31 มกราคม 2566, จาก https://www.thaismescenter.com/เรียนรู้จากข้อผิดพลาด-แฟรนไชส์ร้านสะดวกซัก-Washcoin.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามลคงเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

ศิริพัฒน์ ศรีจันทร์. (2564). การพิจารณาก่อนเป็นแฟรนไชส์ซี. วารสารวิชาการ และวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 11(2), 281-293.

ศุภนารี พิรส และ ธรรศนวัตร์ ไชยเยชน์. (2565). จริยธรรมทางธุรกิจที่ส่งผลต่อการดำเนินงานของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์และเจนเนอเรชั่นวายในจังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 4(1), 1-17.

เศรษฐกิจ. (2565). ร้านสะดวกซัก WashCoin ลอยแพแฟรนไชส์ เสียหายกว่า 100 ล้านบาท. Thai PBS [online] สืบค้นเมื่อ 31 มกราคม 2566, จาก https://www.thaipbs.or.th/news/content/311644.

อภิรัฐ ตั้งกระจ่าง, บัณฑิต ผังนิรันดร์ และ ต่อศักดิ์ ซอแก้ว. (2546). จริยธรรมทางธุรกิจ: Business ethics. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

BBC News. (2565). ดารุมะ: จับ เมธา ชลิงสุข เจ้าของแบรนด์ร้านบุฟเฟต์แซลมอน พบหนีไปสหรัฐอเมริกาคาดผู้เสียหายนับพัน. สืบค้นเมื่อ 7 กันยายน 2565, จาก https://www.bbc.com/thai/Thailand-61857046.

Innnews. (2565). ดารุมะซูชิ คืนชีพกลายเป็น MaMa Daruma พร้อมสอนวิธีใช้เวาเชอร์เก่า. สืบค้นเมื่อ 23 ธันวาคม 2565, จาก https://www.innnews.co.th/lifestyle/news_383880.

Marketthink. (2565). กรณีศึกษา Daruma Sushi “แพ้ภัยตัวเองหรือตั้งใจโกง”. สืบค้นเมื่อ 23 ธันวาคม 2565, จาก https://www.markettihin.co/27447.

Ogbari, M.E., Oke, A.O., Ibukunoluwa, A.A., Ajagbe, M.A. and Ologbo, A.C. (2016). Entrepreneurship and Business Ethics: Implications on Corporate Performance. International Journal of Economics and Financial Issues, 6(3), 50-58.

Tangsiri. (2565). ฟองสบู่ร้านสะดวกซัก Washcoin ชิงปิดกิจการ ความเสียหายหลักร้อยล้าน แฟรนไชส์ 80 สาขาไร้คนดูแล. สืบค้นเมื่อ 31 มกราคม 2566, จาก https://brandinside.asia/end-of-washcoin.

The Standard Team. (2565). “ดารุมะ ซูชิ” เวาเวอร์บุฟเฟต์ทิพย์ กับความเสียหายหลัก 100 ล้าน. สืบค้นเมื่อ 23 ธันวาคม 2565, จาก https://thestandard.co/daruma-sushi.