แนวคิดเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมและกลไกการกำกับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

Main Article Content

นิภาพร พิระภาค
ฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สรุปแนวคิดเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ 2) สรุปแนวคิดเกี่ยวกับกลไกการกำกับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3) สรุปผลงานวิจัยที่เกี่ยวกับการนำแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมและการกำกับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไปประยุกต์ใช้ บทความนี้ได้อธิบายเนื้อหาประกอบด้วย 4 ประเด็น ได้แก่ 1) แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม 2) แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับกลไกการกำกับดูแลกิจการ 3) สรุปผลงานวิจัยที่เกี่ยวกับการนำแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมและการกำกับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยไปประยุกต์ใช้ และ 4) บทสรุป โดยบทความนี้ชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ของความรับผิดชอบต่อสังคมและกลไกการกำกับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยควบคู่กับการดำเนินงานของกิจการ ผลลัพธ์ที่ได้นำไปใช้เป็นแนวทางให้ผู้บริหารไปปรับใช้ในการบริหารงานและควบคุมการทำงานกำกับดูแลให้กิจการมีผลประกอบการที่ดีในระยะยาวเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่ามีความยุติธรรมและความโปร่งใสภายในองค์กร เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันนำไปสู่ความเจริญเติบโตและเพิ่มมูลค่า และส่งผลต่อประสิทธิภาพในการดำเนินงานของธุรกิจใช้เป็นแนวทางในการดำเนินธุรกิจให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับองค์กร

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กนกรส พานิชย์พิพัฒน์. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลกิจการ การจัดการกำไร และมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่ม SET 100. [วิทยานิพนธ์ปริญญานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต], มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

จินตนา ไกรทอง และ ฐิตาภรณ์ สินจรูญศักด์. (2563). ผลกระทบของรายงานความรับผิดชอบต่อสังคม และการกำกับดูแลกิจการที่มีต่อผลการดำเนินงานของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 7(3), 174-185.

ณิชวรรณ วิชัยดิษฐ. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ดารารัตน์ โพธิ์ประจักษ์. (2560). ผลกระทบของการรายงานความรับผิดชอบต่อสังคมที่มีมูลค่ากิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2560). หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2560. https://www.set.or.th.

ทิฆัมพร รักธรรม และเสาวนีย์ สิชณวัฒน์. (2549). ความสัมพันธ์ระหว่างสัดส่วนการถือครองหุ้นของกรรมการและผลการดำเนินงานของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาชีพบัญชี, 2(5), 4-11.

นภาพร จักรวาลกุล, ศักดิ์ชาย จันทร์เรือง และ อิทธิพัทธ์ โยธะพันธ์. (2560,พฤษภาคม-สิงหาคม). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง. การกำกับดูแลกิจการที่ดีกับรายงานความยั่งยืนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยต่อระดับรายงานความยั่งยืนของกิจการด้านเศรษฐกิจ. วารสารวิจัยรำไพพรรณี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี, 11(2), 77-88.

นันทพัทธ์ โนนศรีเมือง และการันต์ กิจระการ. (2566). ผลกระทบของการเปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบต่อสังคมที่มีต่อผลการดำเนินงานทางการเงินของกลุ่มธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม, 7(5), 360-375.

นิตยา ทัดเทียม และ พิมพิศา พรหมมา. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลกิจการและประสิทธิภาพการบริหารสินทรัพย์กับความสามารถในการทำกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 15(3), 183-195.

ปวีณา ทองมนต์. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลกิจการกบัการจัดการกำไรของบริษัทที่เสนอขายหลักทรัพย์แก่สาธารณชนเป็นครั้งแรก กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. [การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

พรรณี กัมพลกัญจนา. (2558). การเปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่มีรายชื่อหลักทรัพย์ในกลุ่มดัชนี SET 100. [การค้นคว้าอิสระปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย. (2565). กลไกการกำกับดูแลกิจการและผลการดำเนินงานของกิจการ. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 13. สงขลา: ประเทศไทย.

พิสมัย ผิวอ่อน. (2560). การกำกับดูแลกิจการที่ดีที่มีผลต่อคุณภาพงบการเงิน ของธุรกิจ SMEs ในกรุงเทพมหานคร. [การศึกษาค้นคว้าอิสระบัญชีมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

ภรณี หลาวทอง. (2562). เอกสารประกอบการสอนวิชาจริยธรรมทางธุรกิจ [เอกสารประกอบการสอน]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.

รังสรรค์ โนชัย. (2562). อิทธิพลของความแตกต่างในมิติของกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานทางการเงินของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจและภาษา, 7(2), 22-31.

สถาบันไทยพัฒน์. (2555). การรายงานข้อมูลความรับผิดชอบต่อสังคม. http://www.thaicsr.com/.

สมเกียรติ์ สุวรรณ. (2562). การกำกับดูแลกิจการที่ดีและสัดส่วนของผู้ถือหุ้นนักลงทุนสถาบันที่มีต่อผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. [การศึกษาค้นคว้าอิสระบัญชีมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

สุธีร์ เครือวรรณ์. (2565, มกราคม-มิถุนายน). ลูกเสือสำรอง : กิจกรรมส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม. วารสารพุทธอาเซียนศึกษา Buddhist ASEAN Studies Journal (BASJ), 7(1), 105-117.

Carroll, A. B. (2004,May). Managing ethically with global stakeholders: A present and future challenge. Academy of Management Executive, 18(2), 114-120.

Donaldson, L., & Davis, J. H. (1991,June). Stewardship theory or agency theory: CEO governance and shareholder returns. Australian Journal of management, 16(1), 49-64.

Goel, R. & Cragg, W. (2005). Guide to Instruments of Corporate Responsibility. York University.

Jensen, M. C., & Meckling, W. H. (1976, October). Theory of the firm: Managerial behavior, agency costs and ownership structure. Journal of Financial Economics, 3(4), 305-360.

John, K., & Senbet, L. W. (1998). Corporate governance and board effectiveness. Journal of banking & Finance, 22(4), 371-403.

Ligteringen, E. a. (2005). The future of Corporate Responsibility Codes Standards and Framworks, Retrieved from http://www.globalreporting.org/upload/landscape_final.pdf.

Mckague K. & Cragg, W. (2007). Compendium of Ethics Codes and Instruments ofCorporate Responsibility, Retrieved from www.cbern.ca.

Manetti, G. (2011, January). The quality of stakeholder engagement in sustainability reporting: empirical evidence and critical points. Corporate social responsibility and environmental management, 18(2), 110-122.

Visser, W., Matten, D., Pohl, M. & Tolhurst, N. (2007). The A to Z of Corporate Social Responsibility. TJ international Ltd.