ความผูกพันในการเป็นอาสาสมัครของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความผูกพันในการเป็นอาสาสมัครและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันในการเป็นอาสาสมัครของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อำเภอไพศาลี กลุ่มตัวอย่างคือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อำเภอไพศาลี ที่ปฏิบัติงานมาไม่น้อยกว่า 1 ปี จำนวน 326 คน เครื่องมือวิจัยที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ และหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรโดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการทดสอบด้วยไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า ความผูกพันในการเป็นอาสาสมัครของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อำเภอไพศาลี ส่วนใหญ่มีความผูกพันในการเป็นอาสาสมัครอยู่ในระดับปานกลาง ลักษณะงานแรงจูง ใจ และการสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในการเป็นอาสาสมัครอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Article Details
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลานี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาก่อนเท่านั้น
References
2.Herzberg, F., Mansner, B. & Synderman, B. (1959). The motivation to work. New York: John Wiley
and Sons.
3.Laschinger, H. K. S. (1996). A theoretical approach to studying work empowerment in nursing: a review of studies testing Kanter’s theory of structural power in organizations. Nursing Administration Qauterly, 20(2), 25-41.
4.Luthans, F. & Davis, T. R. (1992). Organization Behavior. New York: Mo Graw-Hill.
5.Porter, D. E. & Applewhite, P. B. (1964). Organizational Behavior and Management. United States of America: The Haddon Craftsmen. Inc.
6.Reanrerngchai, S. (2006). The Causal Model of Factor Affecting Organizational Commitment of Secondary Scholl Teacher under the Office of Basic Education Commission. Ed.D. Thesis in Educational Administration. Faculty of Graduate School, Burapha University. (in Thai)
7.Steer, R. M. (1977). Antecedents and outcomes of organizational commitment. dministrative Science Quarterly, 22(1), 46-56.
8.Srivihok, S. (1999). Organizational Commitment under Social Crisis Situation of Volunteer Probation Officers, Ministry of Justice. M.A. Thesis in Applied Sociology. Faculty of Graduate School, Kasetsart University. (in Thai)
9.Srikhot, R. (2015). Factors of Organization Commitment Affecting Effective Operation Educational
Standards of Special Education Center. Journal of Yala Rajabhat University,10(2), 75-90.
10.Taotaku, P. (2007). Factors Affecting Performance in Prevention and Relief of Public Disaster Among The Civil Defence Volunteers in Municipalities in Changwat Nakhonpathom. M.A. Thesis in Psychology and Guidance. Faculty of Graduate School, Silpakorn University. (in Thai)
11.Tilden, V. P. (1985). Issue of conceptualization and measurement of social support in the Construction of nursing theory. Research in Nursing & Health, 8(2), 199-206.
12.The Office of Primary Health Care. (1994). Primary Health Care Center. Nonthaburi: Ministry of Public Health. (in Thai)