การประเมินความต้องการจำเป็นในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามแนวคิดการเสริมสร้างความเป็นธรรม ทางการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก
Main Article Content
บทคัดย่อ
ปัญหาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนขนาดเล็กของไทยยังคงต้องพัฒนา จึงวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากรอบแนวคิดการบริหารทรัพยากรมนุษย์และกรอบแนวคิดความเป็นธรรมทางการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก และประเมินความต้องการจำเป็นในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามแนวคิดการเสริมสร้างความเป็นธรรมทางการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 390 แห่ง กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย ผู้อำนวยการและครู เก็บข้อมูลด้วยแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของกรอบแนวคิดและแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐานและค่าดัชนีความต้องการจำเป็น PNImodified ผลการวิจัยพบว่า 1) กรอบแนวคิดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ การได้มาซึ่งทรัพยากรมนุษย์ การประเมินผลและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการธำรงรักษาทรัพยากรมนุษย์ และกรอบแนวคิดความเป็นธรรมทางการศึกษา ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ ได้แก่ ความเป็นธรรมทางการศึกษาในแนวนอน และความเป็นธรรมทางการศึกษาในแนวตั้ง และ 2) การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามแนวคิดการเสริมสร้างความเป็นธรรมทางการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็กมีความต้องการจำเป็นได้รับการพัฒนาด้านการธำรงรักษาทรัพยากรมนุษย์มากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการได้มาซึ่งทรัพยากรมนุษย์ และด้านการประเมินผลและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
Article Details
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลานี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาก่อนเท่านั้น
References
Adamson, F., & Darling-Hammond, L. (2011). Speaking of salaries: What it will take to get qualified, effective teachers in all communities. Washington, D.C.: Center for American Progress.
Armstrong, M. (2006). Strategic human resource management: a guide to action. (3rd edition). the United States by Thomson-Shore, Inc.
Armstrong, M., & Taylor, S. (2014). Armstrong's handbook of human resource management practice. (13th edition). London: Koganpage.
Berne, R. & Stiefel, L. (1984). The measurement of equity in school finance: Conceptual, Methodological, and empirical dimensions. Baltimore: The John Hopkins University Press.
Bratton, J. & Gold, J. (2017). Human resource management (6th edition). London: Palgrave Macmillan.
Chaiheng, S. (2011). Development of strategies for education resource management of small schools in urban and rural areas. Doctor’s Dissertation. Chulalongkorn University. (in Thai)
Independent Committee for Education Reform. (2019). Thailand education reform commission report [Online]. Retrieved January 10, 2020, from: http://backoffice.onec.go.th/uploads/Book/1734-file.pdf. (in Thai)
Lathapipat, D. & Sondergaard, L. M. (2015). Thailand-wanted: A quality education for all. Washington, D.C.: World Bank Group.
Narintarangkul Na Ayudhaya, S. (2019). Human resource management. Leadership of School Administration and Quality Assurance. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai)
National Reform Steering Assembly in Education. (2016). Report of the National Reform Steering Assembly in Education on the Education Management of Small Schools [Online]. Retrieved January 31, 2020, from: https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/download/usergroup_disaster/5-10.pdf. (in Thai)
OECD. (2012). Equity and quality in education: Supporting disadvantaged students and schools. OECD Publishing.
Office of the Basic Education Commission. (2019). Small schools management plan. Bangkok: The Agricultural Cooperative Federation of Thailand Limited. (in Thai)
Office of the Education Council. (2013). Research and development report of the model of teacher and school administrator development using school based management in small schools, phase 2. Bangkok: Prigwan Graphic Co., Ltd. (in Thai)
Pholphirul, P. (2015). Economics of teacher. Bangkok: The Thailand Research Fund. (in Thai)
Poomseda, T. (2016). Proposed small school management strategies for educational quality enhancement. Doctor’s Dissertation. Chulalongkorn University. (in Thai)
The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. (2019). PISA 2018: Executive summary [Online]. Retrieved January 10, 2020, from: https://drive.google.com/file/d/11xU3cWrvQ91JnBqDflrZ-EEHJayMxshA/view. (in Thai)
UNESCO Institute for Statistics. (2007). Educational equity and public policy: Comparing results from 16 Countries [Online]. Retrieved September 24, 2019 from: http://unesdoc.unesco.org/images/0014/001495/149523e.pdf.
Wongwanich, S. (2015). Needs assessment research. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai)