การประเมินประสิทธิผลกิจกรรมบริการวิชาการของหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัยเพื่อการพัฒนา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิผลกิจกรรมบริการวิชาการของหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัยเพื่อการพัฒนา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาประยุกต์ใช้แนวคิดการประเมินโครงการตามแนวคิดของเคิร์ก แพททริก กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้เข้ารับบริการวิชาการและผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้าหน่วยงานต้นสังกัดของผู้เข้ารับบริการวิชาการ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบประเมินความพึงพอใจ แบบทดสอบความรู้ แบบสอบถามการและ แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย ร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ผลการประเมินปฏิกิริยา (Reaction) ผู้เข้ารับการบริการวิชาการมีความพึงพอใจในการให้บริการวิชาการอยู่ในระดับมาก การประเมินการเรียนรู้ (Learning) หลังจากการเข้าร่วมกิจกรรมผู้เข้ารับบริการวิชาการมีความรู้เพิ่มขึ้น การประเมินพฤติกรรม (Behavior) กิจกรรมที่ 1 ผู้เข้ารับบริการนำความรู้ไปใช้ในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมมากที่สุด สำหรับกิจกรรมที่ 2 นั้น ผู้เข้าร่วมสามารถนำความรู้ไปใช้ในการกำหนดปัญหาวิจัยและการกำหนดหัวข้อวิจัยในชั้นเรียนและสามารถนำความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลและการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียนไปถ่ายทอดให้กับบุคคลอื่นได้ และการประเมินผลลัพธ์ที่เกิดต่อองค์กร (Results) พบว่า หลังจากผู้เข้ารับบริการวิชาการได้นำความรู้ไปใช้ส่งผลให้บุคลากรในโรงเรียนได้รับความรู้และนำความรู้ไปใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียน และหาวิธีการเพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียน
Article Details
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลานี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาก่อนเท่านั้น
References
Boonphadung, S. & Seubsang, P. (2013). The Vygotsky’s Based and Partnership for Teachers’ Research Competency Development (Phase 1). Naresuan University Journal, 21(1), 59-68. (in Thai)
Che-mudo, N. (2017). An Evaluation Research of the Teachers Empowerment Project for Tadika Schools in Three Southern Border Provinces Using Kirkpatrick Evaluation Mode. Master of Education. Prince of Songkla University. (in Thai)
Farjad, S. (2012). The Evaluation Effectiveness of training courses in University by Kirkpatrick Model (case study: Islamshahr university). Procedia-Social and Behavioral Sciences, 46(2012), 2837–2841.
Gokmenoglu, T.(2012). Teachers’ Reports of Their In-Service Training Needs and Design Preferences. Doctor of Philosophy. Middle East Technical University.
Jitlung, K. (2019). The Desirable Characteristics of Teachers in 21st Century. Journal of Yala Rajabhat University, 14(1), 138-148. (in Thai)
Junnumsai, W. (2012). Factors Related to Classroom Research Competency of The Teacher’s at The Secondary Educational Service Area Office 30. Master of Education. Rajamangala University of Technology Thanyaburi. (in Thai)
Kanjanawasri, S. (2011). Theory of Evaluation and Decission. In evaluation and management of evaluation project unit 1-5, (6 nd Ed., pp.54-111). Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University. (in Thai)
Kirkpatrick, D. L. & Kirkpatrick, J. D. (2006). Evaluating training programs: The four levels (3nd ed.). San Francisco: Berrett-Koehler.
Muangjaroen, Y. & Meechan, S.(2015).Evaluation of the residency training program of the department of pediatrics,Faculty of medicine ramathibodi hospital.Veridian E-Journal, Silpakorn University, 8(1), 1059-1074. (in Thai)
Nzarirwehi, J. & Atuhumuze, F. (2019). In-Service Teacher Training and Professional Development of Primary School Teachersin Uganda. IAFOR Journal of Education, 7(1), 19-36.
Pitiyanuwat, S, (2006). Evaluation Methodology Science of values (3nd Ed.). Bangkok: Publisher of Chulalongkorn University. (in Thai)
Ritjaroon, P. (2014). Concept and Process of Project Evaluation. STOU Education journal, 7(1), 1-12. (in Thai)
Sritawan, K., Tupsuwan, S., Charoenwai, S. & Chuanchom, S. (2015). The Development of the Training Course for Promoting the Classroom Research Competency of the Teachers in the Primary Schools in the Lower Northeast. Rommayasan Journal, 13(1), 191-202. (in Thai)
Thanadechawat, N., Sadaenghan, P. & Ingrad, A. (2017). Behavioral Assessment frome Kirlpatrick Evaluation Concenpt The Case of Digital Leader Training Project. Burapha Journal of Business Management, 6(1), 65-80. (in Thai)
Utoomporn, N., Wichaidit, W. & Piyapan, P. (2014). An Evaluation of the Training Program about the Production of Teaching Materials (Paper Media) for Basic Education Teachers at Dhonburi Rajabhat University. Dhonburi Rajabhan University Journal, 8(2), 7-11. (in Thai)
Wangtong, P. (2015). The effectiveness of the personnel from nonviolent communication training course at Plearnpattana School. Interdisciplinary Research Review, 10(1), 78-101. (in Thai)
บุคลานุกรม
Leader 1 (ผู้ให้สัมภาษณ์). ปราณี หลำเบ็ญสะ (ผู้สัมภาษณ์). ที่โรงเรียนบ้านใหม่พัฒนวิทย์ ตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี. เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2561.
Leader 2 (ผู้ให้สัมภาษณ์). ปราณี หลำเบ็ญสะ (ผู้สัมภาษณ์). ที่โรงเรียนศรัทธาพิทยา ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา. เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2561.
Leader 3 (ผู้ให้สัมภาษณ์). ปราณี หลำเบ็ญสะ (ผู้สัมภาษณ์). ที่โรงเรียนบ้านปงตา ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา. เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2561.
Leader 4 (ผู้ให้สัมภาษณ์). ปราณี หลำเบ็ญสะ (ผู้สัมภาษณ์). ที่โรงเรียนบ้านบึงน้ำใส ตำบลตะโล๊ะหะลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา. เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2561.
Leader 5 (ผู้ให้สัมภาษณ์). ปราณี หลำเบ็ญสะ (ผู้สัมภาษณ์). ที่โรงเรียนบ้านปาดาฮัน ตำบลตะโล๊ะหะลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา. เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2561.