การวิเคราะห์คุณลักษณะรู้คิดเชิงสิ่งแวดล้อมของผู้เรียนเจอเนอร์เรชั่นแอลฟ่า

Main Article Content

รูดียะห์ หะ
พรฟ้า ทองสุข
จตุพร บุญชัยยุทธศักดิ์
อนุพงศ์ สุขเกษม
ธนัชพันธ์ สุขประเสริฐ

บทคัดย่อ

การรู้คิดเชิงสิ่งแวดล้อมของนักเรียนยังเป็นปัญหาที่ควรให้ความสำคัญ จึงทำการวิจัยเพื่อวิเคราะห์คุณลักษณะรู้คิดเชิงสิ่งแวดล้อมและปัจจัยสู่ความสำเร็จที่เสริมสร้างคุณลักษณะการรู้คิดเชิงสิ่งแวดล้อมของผู้เรียนเจอเนอร์เรชั่นแอลฟ่า เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 8 คน และการอภิปรายกลุ่มทรงคุณวุฒิจำนวน 8 คน ด้วยแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างและแบบบันทึกเสียง วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ตรวจสอบข้อมูลโดยวิธีการสามเส้า และนำเสนอผลการวิจัยเชิงพรรณนา พบข้อมูลสำคัญ คือ ผู้เรียนเจอเนอร์เรชั่นแอลฟ่าที่รู้คิดเชิงสิ่งแวดล้อมมีคุณลักษณะสำคัญ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ทางสิ่งแวดล้อม  ด้านจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม ด้านวิธีคิดที่เชื่อมโยงตนเองกับสิ่งแวดล้อม และด้านพฤติกรรมที่รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม โดยปัจจัยสู่ความสำเร็จในการสร้างผู้เรียนให้มีคุณลักษณะรู้คิดเชิงสิ่งแวดล้อมยังจำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร การบูรณาการหลักสูตรกับสถานการณ์ในสังคม ตัวแบบที่ดีจากครู และความร่วมมือจากครอบครัวและสังคม ซึ่งผลการค้นพบจะเป็นประโยชน์ในการเสริมสร้างผู้เรียนเจอเนอร์เรชั่นแอลฟ่าให้มีคุณลักษณะที่รู้คิดสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยจำเป็นต้องควบคู่การบูรณาการการเรียนรู้กับโจทย์สิ่งแวดล้อมในสังคม อันจะทำให้คนรุ่นใหม่เกิดความตระหนักและมีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Ampai. S. (2015). The development of Environmental Literacy Scale for Lower Secondary School Student. Master’s Thesis. Chulalongkorn University. (in Thai)

Bandura, A. (1968). A Social learning interpretation of psychological dysfunctions. In P. London & D. L. Rosenhan (Eds.), Foundations of abnormal psychology. New York: Holt, Rinehart & Winston.

Krathwohl D. R. (2002). A Revision of Bloom’s Taxonomy: An Overview. United States: The Ohio State University.

Darnton, A., Elster-Jones, A, & Lucus, K. (2015). Behavior: Existing evidence to inform better policy making. London, United Kingdom: The Centre for Sustainable Development University of Westminster.

Chantavanich, S. (2016). Qualitative research methods. (12th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai)

Jensirisak, N. (2019). Social support, emotional quotient, hardiness and academic anxiety of first year students at Kasetsart University, Bangkhen Campus, Journal of Yala Rajabhat University, 14(3), 328-327. (in Thai)

Klaus G. G., & Ellegaard, C. (1992). The concept of key success factors: Theory and method. The Aarhus School of Business.

Kollmass, A. & Agyeman, J. (2002). Mind the gap: Why do people act environmentally and what are the barriers to pro-environmental behavior? Environmental Education Research. [Online]. Retrieved March 29, 2020, http://dx.doi.org/10.1080/13504620220145401

Longsiri, T. (2018). Development of an environmental science place-based curriculum to promote environmental literacy: Case study in the Rayong Province. Doctor’s Thesis Srinakharinwirot University. (in Thai).

Ministry of Education. (2008). Core course of basic education 2008. Bangkok: Printing house of agricultural cooperative of Thailand. (in Thai).

Ministry of Natural Resources and Environment. (2019). Booklet on Thailand State of Pollution 2018. Bangkok: Pollution Control Department.

NAAEE (The North American Association for Environmental Education). (2015). Developing a framework for assessing environmental literacy: Executive summary. [Online]. Retrieved January 10, 2020, from: https://cdn.naaee.org/sites/default/files/envliteracyexesummary.pdf

Office of the National Economic and Social Development Council. (2018). National Strategy 2018 – 2037. [Online]. Retrieved January 10, 2020, from: http://nscr.nesdb.go.th. (in Thai)

Palmer, J. A. (1998). Environmental education in the 21st Century: Theory, practice, progress and promise. New York: Routledge.

Palys, T. (2008). Purposive Sampling. In L. M. Given (Ed.), The Sage encyclopedia of qualitative research methods. California: SAGE Publications.

Rockart, J. (1979). Chief executives define their own information needs. Harvard Business Review, March/April 1979, 81-92.

Smith, P. L., & Ragan, T, J. (2005). Instructional Design. (3rd Ed.) USA: John Wiley & Sons, Inc.

Sutthinarakorn, W. (2018). Data analysis of the qualitative research. Bangkok: Siam Paritas. (in Thai).

Thaweedech, T. (2016). Factor affecting pro-environmental behavior and green products loyalty of generation Z people. EAU Heritage Journal, 10(2), 269-285. (in Thai)

The Organization for Economic Co-operation and Development (OECD) (2018). The future of education and skills education 2030. OECD Publications.

UNESCO. (2016). UNESCO’s environmental and social policies. [Online]. Retrieved January 20, 2020, from: https://en.unesco.org/sites/default/files/statement_on_unesco.pdf

บุคลานุกรม

คุณภัทรา (นามสมมุติผู้ให้สัมภาษณ์). รูดียะห์ หะ และ จตุพร บุญชัยยุทธศักดิ์ (ผู้สัมภาษณ์). ที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สุขุมวิท 23 เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 . เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2563.

คุณนฤมล (นามสมมุติผู้ให้สัมภาษณ์). พรฟ้า ทองสุข (ผู้สัมภาษณ์). ที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สุขุมวิท 23 เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110. เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563.

คุณวิมลพรรณนา (นามสมมุติผู้ให้สัมภาษณ์). ธนัชพันธ์ สุขประเสริฐ(ผู้สัมภาษณ์). ที่ มหาวิทยาลัยมหิดล ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900. เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2563.

คุณเทพไท (นามสมมุติผู้ให้สัมภาษณ์). ธนัชพันธ์ สุขประเสริฐ และ พรฟ้า ทองสุข (ผู้สัมภาษณ์). ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 .เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2563

คุณสมใจ (นามสมมุติผู้ให้สัมภาษณ์). ธนัชพันธ์ สุขประเสริฐ(ผู้สัมภาษณ์) ที่ มหาวิทยาลัยมหิดล ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 .เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563

คุณชัชชาติ (นามสมมุติผู้ให้สัมภาษณ์). อนุพงศ์ สุขเกษม (ผู้สัมภาษณ์). ที่ โรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ แขวงระแหง เขตตลาดหลุมแก้ว ปทุมธานี 12140. เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563.

คุณปรีดา (นามสมมุติผู้ให้สัมภาษณ์). รูดียะห์ หะ (ผู้สัมภาษณ์). ที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี 94000. เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563.

ครูนันทิดา (นามสมมุติผู้ให้สัมภาษณ์). อนุพงศ์ สุขเกษม (ผู้สัมภาษณ์). ที่ โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ถนนมหาพฤฒาราม แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพ 10500. เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2563.